ผิดทางย่อมไม่มีทาง
(ปริพาชกวัจฉโคตร): ข้าแต่ท่านพระโคดม อาชีวก (นักบวชนอกพุทธศาสนานิกายหนึ่ง) บางคนเมื่อตายไปจะทำที่สุดทุกข์ได้มีอยู่บ้างหรือ
อาทิตตปริยายสูตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์เป็นสุขเป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน
วัดพระธรรมกายจัดพิธีบำเพ็ญกุศลสตมวาร 100 วัน
วัดพระธรรมกายจัดพิธีบำเพ็ญกุศลสตมวาร 100 วัน นอกจากนี้วัดพระธรรมกาย และมูลนิธิธรรมกายจัดให้ประชาชนร่วมกันบำเพ็ญบุญด้วยการทำทาน รักษาศีล เจริญจิตตภาวนา เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล เป็นระยะเวลา 1 ปีด้วย
ดับกิเลส
กิเลส คือ สิ่งที่แฝงติดอยู่ในใจแล้วทำให้ใจเศร้าหมองขุ่นมัว มีอุปมาเหมือนสีที่ใส่ลงไปในน้ำทำให้น้ำมีสีเหมือนสีที่ใส่ลงไป ใจก็เช่นกัน ปกติก็ใสสะอาด แต่กลายเป็นใจดำ ใจง่าย ใจร้าย
ติดตามพระศาสดาเพื่ออะไร
ดูก่อนอานนท์ สาวกไม่ควรจะติดตามศาสดาเพียงเพื่อฟังสุตตะ เคยยะและไวยากรณ์เลย นั่นเพราะเหตุไร
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ผู้ข้ามพ้นวัฏฏะ
ครั้นพระบรมศาสดา ทรงแก้ปัญหาอันลุ่มลึกที่ปุณณกะได้ทูลถามแล้ว ปุณณกะเป็นผู้มีดวงปัญญาสว่างโพลง เป็นปัญญาบริสุทธิ์ที่เข้าใจเนื้อความของพระผู้มีพระภาคเจ้าได้อย่างแจ่มแจ้ง ท่านมีธรรมจักษุบังเกิดขึ้น ทั้งจักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา อาโลโก แสงสว่างที่ไม่มีประมาณได้ขจัดความมืดในจิตใจของท่านให้หมดสิ้นไป จนสามารถรู้แจ้งเห็นจริงในสรรพสิ่งทั้งหลายไปตามความเป็นจริงได้ และกิเลสอาสวะถูกขจัดไป สิ้นเชื้อไม่เหลือเศษ ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ในครั้งนั้น
มุณิกชาดก ชาดกว่าด้วยผู้มีอายุยืน
มุณิกชาดก เป็นเรื่องของหมูมุณิกะ ซึ่งถูกเลี้ยงดูด้วยอาหารดีเลิศและได้รับการดูแลเอาใจใส่เป็นอย่างดี และทำให้โคจุฬโลหิตเกิดความน้อยเนื้อต่ำใจในชะตาของมันซึ่งต่างจากหมู แต่ถ้ามันรู้ความจริงว่าหมูมุณิกะถูกเลี้ยงไว้เพื่อฆ่า...มันจะทำอย่างไร มันจะช่วยหมูมุณิกะหรือไม่
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 20
“ใครหนอเป็นผู้แนะนำธรรมะสั่งสอนพระองค์ ถ้อยคำอันสะอาดนี้ เป็นถ้อยคำของใคร ดูก่อนพระองค์ผู้เป็นจอมทัพ เพราะข้าพระองค์มิเคยเห็นพระองค์ได้ตรัสกับสมณะผู้มีวัตรปฏิบัติก้าวล่วง ทุกข์ ซึ่งแนะนำหนทางสู่ความหลุดพ้นแก่พระองค์เลย”
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๓)
จากเรื่องนี้ เราจะเห็นได้ว่า แม้เราจะทำหน้าที่อย่างสมบูรณ์ที่สุด ก็อาจเกิดการเข้าใจผิดกัน ไม่เว้นแม้กระทั่งพระอรหันต์ผู้หมดกิเลสแล้ว ฉะนั้น การเข้าใจผิดจึงเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ง่าย และพร้อมจะเกิดขึ้นเสมอในสังคมโลกปัจจุบัน เรื่องราวที่เกิดขึ้นนี้ พวกเราทุกคนควรนำไปเป็นข้อคิดว่า
กินจิ้งจกรักษาโรค