ทำไม...ถึงสร้างพระมหาธรรมกายเจดีย์รูปทรงแบบนี้ ? ผิดไหม ? ใช่รูปจานบินไหม ?
แล้วพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเรื่องการออกแบบสร้างสถูปหรือเจดีย์ไว้อย่างไร ?
ปุราณอักษรา
เส้นจารเนื้อความพระไตรปิฎกบนแผ่นลานนอกจากจะเป็นหลักฐานแสดงการสืบทอดพุทธธรรมแล้วยังเป็นหลักฐานบ่งบอกถึงวิวัฒนาการอักษรโบราณบนแผ่นดินไทยอีกด้วย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๒)
ก่อนที่ผู้เขียนจะเดินทางกลับไปยังประเทศนิวซีแลนด์ ผู้เขียนได้บันทึกถึงการเดินทางครั้งนี้ไว้ว่าเป็นการเดินทางที่เต็มไปด้วยประสบการณ์ที่คุ้มค่า.....
คำชี้แจงจากวัดพระธรรมกาย 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 เวลา 10.00 น.
อานิสงส์การบูชาเจดีย์ด้วยดอกไม้ ๘ ดอก
“ข้าพเจ้ามีใจเลื่อมใส ยกดอกไม้ ๘ ดอก ขึ้นบูชาพระสถูปของพระกัสสปพุทธเจ้าด้วยมือของตนเอง ด้วยอานุภาพแห่งผลบุญในครั้งนั้น ทำให้เป็นผู้ที่มีวรรณะงดงามเช่นนี้”
สมุดไทย...ทรงไว้ซึ่งสรรพศาสตร์และอัจฉริยภาพเชิงศิลป์
คัมภีร์ใบลานพระไตรปิฎกเป็นงานเขียนบันทึกโบราณที่ทางโครงการพระไตรปิฎก ฉบับวิชาการ มุ่งออกเดินทางสำรวจ ค้นหา และถ่ายภาพบันทึกไว้เพื่ออนุรักษ์สืบทอดเก็บไว้เป็นหลักฐานทางวิชาการต่อไปในภายภาคหน้า เพราะเป็นผลงาน....
มหาโมรชาดก ชาดกว่าด้วยพญานกยูงพ้นจากบ่วง
ครั้นเมื่อพระพุทธศาสนาได้แผ่ขยายออกไปกว้างใหญ่ไพศาล ประชาชนล้วนหลั่งไหลให้พระธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวชีวิต บ้างก็ใช้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว จิตใจให้ทำดี ครั้งนั้นได้มีหนุ่มรูปงามที่ตั้งใจจะละจากกิเลสทั้งปวง ออกบวชมุ่งปฏิบัติธรรม เพื่อตรัสรู้แจ้งแห่งธรรม การงานใดที่เป็นกิจของสงฆ์ ภิกษุหนุ่มนี้ ปฏิบัติได้ดีไม่มีขาด ว่างจากกิจก็นั่งสมาธิตั้งอานาปานสติ
เพื่อโอกาสแห่งศรัทธาบวชพระในพรรษา ๓ โครงการ
ยังเป็นสิ่งที่น่าเป็นห่วง ที่การบวชพระช่วงเข้าพรรษาในแต่ละวัดทั่วประเทศมีจำนวนน้อย หลายวัดมีเพียงเพื่อให้ครบ ๕ รูป ตามจำนวนในพุทธบัญญัติที่จะสามารถรับกองกฐินของศรัทธาญาติโยมที่จะมาถวายในช่วงออกพรรษาเท่านั้น
ทอดกฐินวัดพระธรรมกาย ประจำปี พ.ศ. 2559
มหากฐิน มหากาลทาน สุดยอดแห่งบุญ 1 ปี มีเพียงครั้งเดียว สุดยอดแห่งบุญ 1 ปี มีเพียงครั้งเดียว ณ วัดพระธรรมกาย วันอาทิตย์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
อนุรักษ์คัมภีร์ใบลานไทยรักษาไว้ให้แผ่นดิน
นับแต่การตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แสงแห่งธรรมของพระบรมศาสดาเป็นประดุจแสงสว่างส่องนำทางชีวิตให้แก่ชาวโลกตลอดมา ภายหลังพุทธปรินิพพาน พระอรหันต์ ๕๐๐ รูป ทำสังคายนาเพื่อเรียบเรียงพระธรรมวินัยและทรงจำสืบทอดต่อ ๆ กันมาด้วยการท่องจำเรียกว่า “มุขปาฐะ”