วัฏฏกาชาดกว่าด้วยอำนาจแห่งการตั้งสัตยาธิษฐาน
วัฏฏกาชาดก เป็นเรื่องของการอธิษฐาน อธิษฐานจิตอย่างไรให้ถูกต้องและเป็นจริงได้ หลักการอธิษฐานขึ้นอยู่กับคุณภาพของจิต เราควรยังจิตนึกถึงคุณของพระรัตนตรัย ทบทวนศีล 5 ให้บริสุทธิ์ จำเป็นหรือไม่?!!
เทวธรรมชาดก-ชาดกว่าด้วยธรรมของเทวดา
“ดูก่อนภิกษุในศาสนาของเรานี้ ล้วนสรรเสริญคุณของความเป็นผู้มักน้อย สันโดษ รักสงบ เพียรผลาญกิเลสให้สิ้นไปมิใช่หรือ? แล้วทำไมท่านกลับถึงทำสิ่งไม่ควรเช่นนี้เล่า” พระภิกษุเจ้าสำรวย ได้ฟังคำพระพุทธเจ้าแล้ว แทนที่จะสำนึกผิดกลับบันดาลโทสะ ประชดประชัน ทำสิ่งมิควรอีก
กุกกุรชาดก-ชาดกว่าด้วยการสงเคราะห์ญาติ
ครั้งหนึ่งในสมัยพุทธกาลพระภิกษุสงฆ์ทั้งหลายนั่งสนทนากันอยู่ ณ เชตะวันมหาวิหาร ถึงเรื่องที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงช่วยให้พระประยูรญาติจำนวนมากได้บรรลุธรรมถึงความพ้นทุกข์ และในจำนวนนั้นมีพระประยูรญาติหลายพระองค์ได้มาเป็นกำลังใจในการเผยแพร่แผ่พระพุทธศาสนา
สมิทธิชาดก ชาดกว่าด้วยการไม่รู้เวลาตาย
ท่านภิกษุท่านยังเด็กเยาว์วัยหนุ่มแน่น มีผมดำ ประกอบด้วยความหนุ่ม ทั้งยังเจริญ มีรูปงามน่าดู น่าเลื่อมใส ท่านเป็นเช่นนี้ ไม่บริโภคกาม ประโยชน์อะไรด้วยการบรรพชา จงบริโคกามเสียก่อนเถิด ภายหลังจึงค่อยบวชบำเพ็ญสมณะธรรม ” “ แน่ะ เทพธิดา เราไม่รู้ความตายของเราว่า เราจักตายเมื่ออยู่ในวันโน้น เรากำหนดเวลาไม่ได้ เพราะฉะนั้น เราจักบำเพ็ญสมณะธรรม ในตอนยังเป็นหนุ่ม แล้วจักทำที่สุดแห่งทุกข์ ” “ ถ้าอย่างนั้น ก็แล้วแต่ท่านเถิด ข้าขอลาก่อน ”
สีลวนาคชาดก ชาดกว่าด้วยผู้ดื้อรั้นว่ายาก
อาจารย์นักกระโดดข้ามหอกผู้ดื้อรั้น ผู้ไม่ยอมรับฟังคำเตือนของใคร แม้แต่ศิษย์ที่รักและหวังดีต่อเขา และด้วยความอวดดี ดื้อดึงของเขา เลยทำให้เขาพบจุดจบลงอย่างน่าอนาถ
ตินทุกชาดก-ชาดกว่าด้วยเรื่องอุบายหนีตาย
ในสมัยพุทธกาลองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงประทับอยู่ ณ พระเชตะวันมหาวิหารเผยแผ่ธรรมะคำสอนให้แก่เหล่าพุทธสาวกได้ซึมซับในพระธรรมคำสอน ด้วยพระปัญญาบารมีของพระองค์ได้ทำให้เหล่าภิกษุในพระเชตวันต่างรู้สึกเลื่อมใสและเคารพนับถือเป็นยิ่งนัก
พกชาดก-ชาดกว่าด้วยบาปกรรมของผู้ฉลาดแกมโกง
พระเชตะวันมหาวิหาร ณ เวลาในพุทธกาลสมัยหนึ่งยังมีพระภิกษุผู้มีศิลปะในการตัดเย็บ ย้อมสี ปะ ชุนจีวร ฝีมือดีจนเป็นที่ยอมรับในหมู่สงฆ์ ภิกษุรูปนี้ชาญฉลาดในการทำจีวรให้งาม ภิกษุสงฆ์ทั้งหลายพากันขนานนามตามความหมายนั้นว่า พระจีวรวัฒฑกะ
มาตุโปสกชาดก-ชาดกว่าด้วยพญาช้างยอดกตัญญู
ในสมัยหนึ่งครั้งเมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่วัดเชตะวันเมืองสาวัตถี ได้เกิดเรื่องราวถกเถียงกันในหมู่สงฆ์ ถึงเรื่องวินัยสงฆ์ของภิกษุผู้เลี้ยงมารดารูปหนึ่ง ภิกษุที่ว่านี้เมื่อออกบวชในพุทธศาสนาก็ไม่สามารถปฏิบัติธรรมอย่างจริงจังได้ เพราะต้องคอยมาปรนนิบัติผู้เป็นมารดาที่อาศัยอยู่ในบ้านตามลำพัง
คิริทัตตชาดก-ชาดกว่าด้วยการเอาอย่าง
สมัยนั้นมีสหายสองคนเป็นชาวเมืองราชคฤห์ สองสหายนั้นคนหนึ่งบวชในสำนักพระศาสดาอีกคนหนึ่งบวชในสำนักของพระเทวทัต สหายทั้งสองนั้นย่อมได้พบเห็นกันเสมอ แม้ไปวิหารก็ยังได้พบเห็นกัน ภิกษุที่บวชในสำนักพระศาสดาเมื่อบวชแล้วต้องปฏิบัติกิจสงฆ์อยู่เป็นนิจ ต่างจากสหายที่บวชในสำนักพระเทวทัตที่ไม่มีกิจใดที่พึงต้องทำ
กโปตกชาดก-ชาดกว่าด้วยความเป็นผู้มีใจโลเล
อันพระพุทธวัจนทั้งหมดทั้งสิ้นที่ผ่านความยาวนานของกาลเวลามากกว่า 2500 ปีนั้น มีพระธรรมคำสอนเพียงไม่กี่ข้อที่ผู้คนในโลกจำกันขึ้นใจ บุคคลพึงสำเร็จได้ด้วยความเพียรก็เป็นพระพุทธธรรมข้อหนึ่งที่เราจดจำนำไปปฏิบัติกันอย่างกว้างขวาง การปฏิบัติกิจใดโดยความเพียรก็ย่อมมีข้อขันติอดทน ไม่มีใจโลเลเป็นสิ่งนำสู่ความสำเร็จ