สารมุทิตา จากประธานสหพันธ์พุทธนานาชาติ อินเดีย เนื่องในวาระอายุวัฒนมงคล 80 ปี หลวงพ่อธัมมชโย
สารมุทิตา จากประธานสหพันธ์พุทธนานาชาติ อินเดีย เนื่องในวาระอายุวัฒนมงคล 80 ปี หลวงพ่อธัมมชโย และวันคุ้มครองโลก
พุทธศาสนา ‘บูม’ ในรัสเซีย ชี้คำสอนพิสูจน์ได้จริง-เตรียมแปลพระไตรปิฎกรองรับ
Answer by Law of Kamma :- Why are there many languages in the world?
An audience has a question about language. He has heard that some of the Buddhas had enlightened in the one-language world. Is it correct?
วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
วันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 10 ของทุกปีเป็นวันที่เราจะนึกถึง พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หรือหลวงพ่อวัดปากน้ำ ท่านได้สละชีวิตในการนั่งสมาธิจนเข้าถึงธรรมกาย
ความสำคัญของอาคาร 100 ปีคุณยายอาจารย์
พระธรรมเทศนา โดย พระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อทัตตชีโว) รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย
เมื่อมังกรผงาดฟ้าสันติภาพจะหวนคืนมาสู่ยุทธภพ
โครงการ MMC เป็นโครงการที่ดีมาก ซึ่งกระผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเราจะมีทีมงานที่มีหัวใจดวงเดียวกัน กระจายไปยังประเทศต่างๆทั่วโลก
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (4)
ทรัพย์เครื่องปลื้มใจอย่างใดอย่างหนึ่งในโลกนี้ หรือโลกอื่น หรือรัตนะใดอันประณีตในสวรรค์ ทรัพย์และรัตนะนั้นที่เสมอด้วยพระตถาคตไม่มีเลย แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
"กตัญญูบูชา" เนื่องในวันคล้ายวันเกิดพระผู้ปราบมาร ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๘
วันที่ ๑๐ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๘ เป็นวันสำคัญที่มหาชนทั้งหลายจะได้พร้อมใจกันรำลึกถึงมหาปูชนียาจารย์ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ พระผู้ปราบมาร เพราะวันนี้เป็นวันคล้ายวันบังเกิดขึ้นด้วยกายเนื้อของท่าน ครบ ๑๓๑ ปี ดังนั้นเหล่าศิษยานุศิษย์และผู้มีบุญทั่วโลกจึงรวมใจกันน้อมบูชาธรรมท่านด้วยการบำเพ็ญบุญกุศล พร้อมทั้งประพฤติปฏิบัติธรรมเป็นกตัญญูบูชา
เดินธุดงค์ในเมืองผิดพระวินัย หรือผิดที่เข้าใจไม่ตรงกัน
ธุดงค์ผ่านเมืองผิดตรงไหน เพราะการจราจรที่ติดขัดขึ้นบ้าง หรือข้อวัตรปฏิบัติของการอยู่ธุดงค์ยังไม่ชัดเจน เดินธุดงค์ในเมืองผิดพระวินัย หรือผิดที่เข้าใจไม่ตรงกัน ..
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย คืออะไร ธรรมยาตรา คำนี้ หลายคนอาจไม่เคยได้ยิน แต่คำนี้มีมานานแล้ว โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อปฏิบัติสมาธิในท่าเดิน ฝึกสติ และสืบทอดธรรมเนียมที่มีมาแต่โบราณกาล คือ การเดินจาริก "ธรรมจาริก"