สารมุทิตา จากประธานสหพันธ์พุทธนานาชาติ อินเดีย เนื่องในวาระอายุวัฒนมงคล 80 ปี หลวงพ่อธัมมชโย
สารมุทิตา จากประธานสหพันธ์พุทธนานาชาติ อินเดีย เนื่องในวาระอายุวัฒนมงคล 80 ปี หลวงพ่อธัมมชโย และวันคุ้มครองโลก
พุทธศาสนา ‘บูม’ ในรัสเซีย ชี้คำสอนพิสูจน์ได้จริง-เตรียมแปลพระไตรปิฎกรองรับ
Answer by Law of Kamma :- Why are there many languages in the world?
An audience has a question about language. He has heard that some of the Buddhas had enlightened in the one-language world. Is it correct?
วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
วันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 10 ของทุกปีเป็นวันที่เราจะนึกถึง พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หรือหลวงพ่อวัดปากน้ำ ท่านได้สละชีวิตในการนั่งสมาธิจนเข้าถึงธรรมกาย
ความสำคัญของอาคาร 100 ปีคุณยายอาจารย์
พระธรรมเทศนา โดย พระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อทัตตชีโว) รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย
เมื่อมังกรผงาดฟ้าสันติภาพจะหวนคืนมาสู่ยุทธภพ
โครงการ MMC เป็นโครงการที่ดีมาก ซึ่งกระผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเราจะมีทีมงานที่มีหัวใจดวงเดียวกัน กระจายไปยังประเทศต่างๆทั่วโลก
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (4)
ทรัพย์เครื่องปลื้มใจอย่างใดอย่างหนึ่งในโลกนี้ หรือโลกอื่น หรือรัตนะใดอันประณีตในสวรรค์ ทรัพย์และรัตนะนั้นที่เสมอด้วยพระตถาคตไม่มีเลย แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
เดินธุดงค์ในเมืองผิดพระวินัย หรือผิดที่เข้าใจไม่ตรงกัน
ธุดงค์ผ่านเมืองผิดตรงไหน เพราะการจราจรที่ติดขัดขึ้นบ้าง หรือข้อวัตรปฏิบัติของการอยู่ธุดงค์ยังไม่ชัดเจน เดินธุดงค์ในเมืองผิดพระวินัย หรือผิดที่เข้าใจไม่ตรงกัน ..
"กตัญญูบูชา" เนื่องในวันคล้ายวันเกิดพระผู้ปราบมาร ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๘
วันที่ ๑๐ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๘ เป็นวันสำคัญที่มหาชนทั้งหลายจะได้พร้อมใจกันรำลึกถึงมหาปูชนียาจารย์ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ พระผู้ปราบมาร เพราะวันนี้เป็นวันคล้ายวันบังเกิดขึ้นด้วยกายเนื้อของท่าน ครบ ๑๓๑ ปี ดังนั้นเหล่าศิษยานุศิษย์และผู้มีบุญทั่วโลกจึงรวมใจกันน้อมบูชาธรรมท่านด้วยการบำเพ็ญบุญกุศล พร้อมทั้งประพฤติปฏิบัติธรรมเป็นกตัญญูบูชา
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย คืออะไร ธรรมยาตรา คำนี้ หลายคนอาจไม่เคยได้ยิน แต่คำนี้มีมานานแล้ว โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อปฏิบัติสมาธิในท่าเดิน ฝึกสติ และสืบทอดธรรมเนียมที่มีมาแต่โบราณกาล คือ การเดินจาริก "ธรรมจาริก"