ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
ประเภทของสมาธิ
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - แม้ตายก็ไม่ทิ้งธรรม
คืนนั้น มีนายพรานคนหนึ่งเห็นท่าน คิดว่าเป็นเนื้อ พุ่งหอกออกไป หอกได้ปักทะลุอก ครั้นนายพรานเห็นว่าเป็นพระ ก็ตกใจรีบเข้าไปหา พระเถระตั้งสติใจไม่เคลื่อนจากฐานที่ตั้งของใจ ท่านขอให้นายพรานชักหอกออก แล้วเอาเกลียวหญ้าอุดปากแผลไว้ แม้เลือดจะไหลไม่หยุด แต่สภาวะใจของท่านยังคงสงบนิ่งไม่กระเพื่อม ท่านตั้งใจมั่นว่าจะเอาชีวิตเป็นเดิมพัน แม้ตายจะไม่ทิ้งธรรม
ทำไมถึงพลาดสิ่งที่อยากได้
ภิกษุทั้งหลาย ผู้ไม่ได้รับการศึกษา ไม่เห็นอริยเจ้า ไม่ฉลาดต่อคุณธรรมของพระอริยเจ้า เมื่อเขาไม่รู้จักสิ่งที่ควรเสพ,ไม่ควรเสพ,ควรคบ,ไม่ควรคบ,เพราะเหตุ เขาไม่รู้ตามที่เป็นจริงเช่นนั้น
กามเหมือนคบเพลิงหญ้า
กามทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า เปรียบด้วยคบเพลิงหญ้า มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก... หาส่วนเหลือมิได้
ติวเข้ม"ครูสอนปริยัติธรรม" เสริมเทคนิคการสอนสมัยใหม่
อาทิตตปริยายสูตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์เป็นสุขเป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน
ศีล..ทางมาแห่งรูปสมบัติ
ศีลเป็นบ่อเกิดแห่งความสงบ ความดีงาม เนื่องจากศีลเป็นคุณธรรมที่ช่วยรักษา กาย วาจาให้เป็นระเบียบเรียบร้อย การรักษาศีลให้บริสุทธิ์จะทำให้ใจสงบ ปลอดกังวล ช่วยให้สามารถบรรลุธรรมได้โดยง่าย
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก
อานิสงส์รักษาอุโบสถศีลครึ่งวัน
กามแม้น้อย ก็ไม่พอแก่มหาชน มหาชนย่อมไม่อิ่มในกามแม้มาก น่าสลดใจที่พวกคนพาลพากันบ่นว่า รูป เสียงเหล่านี้ จงมีแก่เรา กุลบุตรผู้ประกอบด้วยความเพียร พึงเว้นให้ขาดเถิด