โพสต์เฟสบุ๊คยั่วกิเลส
การโพสต์ภาพสถานที่ที่เราไป หรืออาหารที่เราทานจะถือเป็นการยั่วยุกิเลสคนอื่นหรือเปล่าครับ?
กิเลส เพื่อนซี้ที่ไม่รู้จัก
กิเลส เป็นศัพท์เฉพาะ มีอยู่ในพระไตรปิฎกเท่านั้น ผู้ที่เห็นกิเลสเป็นท่านแรก คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
กิเลส 3 ตระกูล
กิเลสที่มีอยู่ในใจของมนุษย์ มีอยู่ 3 ตระกูลใหญ่ กิเลสตระกูลที่ 3 เรียกว่า โมหะ เป็นโรคร้ายฝังอยู่ในใจที่คอยบีบคั้นให้มนุษย์คิดชั่ว พูดชั่ว ทำชั่ว แล้วผลของความชั่วทำไว้ก็ไม่หายไปไหน มันได้กลายเป็นมารร้ายย้อนกลับมา ตามจองล้างจองผลาญเราข้ามภพข้ามชาติ
ความขยัน ความไม่ประมาท
ด้วยความขยัน ด้วยความไม่ประมาท ด้วยความสำรวมระวัง และด้วยการข่มใจตนเอง ผู้มีปัญญาควรสร้างเกาะ (ที่พึ่ง) แก่ตน ที่ห้วงน้ำ (กิเลส) ไม่สามารถท่วมได้
ทุกข์เพราะกาม
“กาม” เป็นต้นเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดความหิวกระหายในใจของเรา ความอยากในกามได้คอยครอบงำ และบงการชีวิตเรา ให้เรารู้สึกไม่พอใจในสิ่งที่เรามี
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 80 กิเลสสามตระกูล ตอนที่ 2
นิสัยไม่ดีที่มีอยู่ในตัวของเรานั้น แท้จริงแล้วเกิดขึ้นจาก กิเลส ที่มาบีบคั้นใจโดยที่เราไม่รู้ตัว อีกทั้งยังบังคับให้คิดชั่ว พูดชั่ว และทำชั่ว
สื่อมวลชนเสนอข่าว ''ประธานมูลนิธิธรรมกาย ได้รับอาราธนานิมนต์เข้าร่วมงานฉลองครบรอบ 20 ปี แห่งการบูรณะวัดต้าฉือ เมืองเฉิงตู ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน"
''ประธานมูลนิธิธรรมกาย ได้รับอาราธนานิมนต์เข้าร่วมงานฉลองครบรอบ 20 ปี แห่งการบูรณะวัดต้าฉือ เมืองเฉิงตู ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน" โดยมีสื่อมวลชนหลายแห่งให้การเผยแพร่ข่าวสารนี้
บทความดีๆ จากสมาชิก : ชีวิตที่นับถ้อยหลัง
บทความดีๆ จากสมาชิก : ชีวิตเรานับถ้อยหลังไปทุกวัน เราขยันหมั่นเพียรนั่งสมาธิ
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - ไขปริศนาธรรม
พระพุทธองค์ผู้รู้แจ้งโลก ตรัสตอบว่า “บุคคลเชื่อธรรมของพระอรหันต์ผู้บรรลุนิพพาน ฟังอยู่ด้วยดีย่อมได้ปัญญา บุคคลเป็นผู้ไม่ประมาท เป็นผู้ฉลาด เป็นผู้ทำอะไรเหมาะสม ไม่ทอดธุระ ขยันหมั่นเพียร ย่อมหาทรัพย์ได้ คนย่อมได้ชื่อเสียงเพราะความสัตย์ ผู้ให้ย่อมผูกมิตรไว้ได้ บุคคลใดประกอบด้วยศรัทธา มีธรรม ๔ ประการนี้ คือ สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ บุคคลนั้น ละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไม่เศร้าโศก”
ทำไมบนสวรรค์จึงมีทั้งเทวดาและมาร
เทวดายังมีชั้น จึงไม่แปลกที่มนุษย์มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ต้องไปแก้ที่เทวดาก่อน ถ้าแก้เทวดาไม่ตก มนุษย์ก็ยังมีชนชั้น ที่เทวดามีชั้นเพราะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปไม่เท่ากัน