ธัมมัทธชชาดก ชาดกว่าด้วยพูดอย่างหนึ่งทำอย่างหนึ่ง
มีภิกษุอยู่รูปหนึ่งเป็นผู้ที่ชอบพูดจาโป้ปดอยู่เสมอ คำพูดอย่างหนึ่งแต่การกระทำอีกอย่างหนึ่งจนเป็นที่ระอาใจในหมู่ภิกษุสงฆ์ด้วยกัน ภิกษุทั้งหลายได้พาภิกษุที่ชอบโกหกไปเข้าเฝ้าองค์พระศาสดาเพื่อให้พระองค์ได้ชี้แนะตักเตือน
"ยัดเยียด"เด็กเรียนพิเศษปิดเทอม ระวัง"โรคซึมเศร้า"ถามหา
การใช้ชีวิตแบบ Slow
ในช่วงวันหยุดที่ผ่านมา หลายๆ ท่านคงได้ใช้วันหยุดยาวกันตามใจชอบ ได้ทำในสิ่งที่ปรารถนาแบบสบายๆ ทั้งๆ ที่ในช่วงปีใหม่ที่ผ่านมาเราได้ใช้ชีวิตแบบเร่งรีบ ทำให้ถูกบีบคั้นทั้งร่างกายและจิตใจกันมาก
สักครั้ง 'มากประโยชน์' 'อุปสมบท' 'บวช' มีดีมากกว่าบุญ
ในช่วงก่อนเข้าพรรษา ช่วงนี้ในประเทศไทยที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ หลาย ๆ ครอบครัวก็จะมีการจัดพิธี "อุปสมบท" หรือ "บวช" บุตรหลานที่เป็นผู้ชาย ที่อายุครบบวชแล้ว เป็น "พระภิกษุ" ซึ่งการบวชหรืออุปสมบทนั้นเป็น "สังฆกรรม" อย่างหนึ่งในพระพุทธศาสนา
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก
ปิดตาย ผู้ใช้ Windows เถื่อน
ฝึกเด็กอย่างไรโตไปไม่โกง
โต ไป ไม่ โกง ทำอย่างไรจะฝึกเด็กให้โตไปไม่โกง ไม่ทุจริต คอรัปชั่น หลักการปลูกฝังไม่ให้คนในสังคมมีนิสัยคดโกง หรือคอรัปชั่นทำได้ แต่ต้องเริ่มกันตั้งแต่เด็กๆ ถึงจะได้ผล
World-PEC จังหวัดพิษณุโลก
ทีมงานจังหวัดพิษณุโลก ได้ฝากกำลังใจอุ่นๆจากเมืองสองแควมาถึงทีมงานจังหวัดอื่นๆว่า “ยิ่งเวลาเหลือน้อยเท่าไหร่ เรายิ่งต้องเร่งเครื่องให้แรงขึ้นเท่านั้น ลุยทำหน้าที่กันไม่ต้องหวั่นไหว แล้วงานครั้งนี้จะสำเร็จเป็นอัศจรรย์อย่างแน่นอน และเมื่อถึงวันนั้นเราจะภาคภูมิใจว่า เราเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสันติภาพให้เกิดขึ้นบนโลกใบนี้ เพราะฉะนั้นขอให้ทุกจังหวัดสู้...สู้”
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 37 ต้นมหาโพธิพฤกษ์
ต้นมหาโพธิพฤกษ์ หรือต้นไม้ตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแต่ละพระองค์นั้น จะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละยุคสมัย