การดูแลสุขภาพกายและสุขภาพใจให้เหมาะสมแก่การฝึกสมาธิและเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงธรรม
ร่างกายของเรานี้ประกอบด้วยธาตุสี่ที่ไม่บริสุทธิ์จึงเสื่อมสลายตลอดเวลา ทำให้ต้องหา ธาตุสี่จากภายนอกมาเติมเข้าไปอยู่เรื่อย ๆ ไม่มีสิ้นสุด ดังที่เราต้องประกอบกรรมต่าง ๆ เพื่อการเติมธาตุสี่ แต่กายนั้นก็ทำกรรมตามที่ใจของเราเป็นตัวสั่งการ ส่วนของใจทำหน้าที่รู้และคิด ส่วนของกายพูดและทำ
สมปรารถนาได้ด้วยบุญ
ชีวิตถูกชรานำเข้าไปใกล้ความตาย ผู้ที่ถูกชรานำเข้าไปใกล้แล้ว ย่อมต้านทานไว้ไม่ได้ เมื่อบุคคลเล็งเห็นภัยในความตายนี้ ควรทำบุญอันจะนำความสุขมาให้
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๗ ( ความจริงปรากฏ )
ครั้นเทวดาที่สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตรของพระราชา ไม่ได้สดับธรรมเทศนาของพระโพธิสัตว์หลายวัน และรู้ว่ามโหสถถูกกลั่นแกล้ง คนดีเทวดาต้องคุ้มครองรักษา พระราชาพระองค์นี้เป็นคนหูเบา มีปัญญาน้อย ไม่รู้จักเลือกใช้คนให้เป็น อาศัยกินบุญเก่าเท่านั้นถึงได้มาบังเกิดเป็นพระราชา เทวดาจึงคิดหาวิธี ที่จะให้มโหสถกลับมาอยู่ในราชสำนักตามเดิม เพื่อตนจะได้ฟังธรรมของมโหสถอีก
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ทำบุญก่อนได้ก่อน
หากเราปรารถนาความสุขความสำเร็จ เพื่อส่งผลให้เราไปบังเกิดในสุคติโลกสวรรค์ เราต้องรู้จักวิธีที่จะให้ได้สิ่งเหล่านั้นก่อน วิธีการนั้น พระบรมศาสดาท่านแนะนำให้สั่งสมบุญ เพราะหากเรายังไม่เข้าถึงพระธรรมกายภายใน ยังมองไม่เห็นบุญ แม้จะมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า แต่สัมผัสได้ด้วยใจ บุญเป็นธาตุสำเร็จที่คอยอำนวยสิ่งที่ดีงาม ดลบันดาลความสุขความสำเร็จในชีวิตให้บังเกิดขึ้น
มงคลที่ ๑๒ เลี้ยงดูบุตร - รักลูกให้ถูกทางนิพพาน
สำหรับวันนี้เรามารับฟังเรื่องราวของพระเถรีรูป หนึ่ง ซึ่งมีชื่อว่า พระวัฑฒมาตาเถรี ซึ่งนอกจากท่านจะเป็นแบบอย่างที่ดีงามให้แก่บุตรของตนด้วยการยกตนให้พ้นจาก กองกิเลสแล้ว ท่านยังเป็นกัลยาณมิตรให้กับบุตรอีกด้วย เรียกว่าเป็นที่พึ่งทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น และบุตรของท่านก็ได้ชื่อว่า เป็นอนุชาตบุตร เป็นบุตรผู้เสมอกับมารดา
มงคลที่ ๑๔ ทำงานไม่คั่งค้าง - เพียรสู่ความสำเร็จ
ผู้ที่มีความเพียรพยายาม จะทำอะไรย่อมประสบผลสำเร็จ ดังคำกล่าวที่ว่า ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น เช่น บัณฑิตในกาลก่อนอาศัยความเพียรที่ประกอบด้วยปัญญา จนเอาชนะข้าศึกที่มีกำลังเหนือกว่าได้ เรื่องมีอยู่ว่า
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - อย่างหลงใหลเพลิดเพลิน
สมัยหนึ่งในกรุงราชคฤห์ มีหญิงงามเมืองผู้มีความงดงามคนหนึ่ง ชื่อ สิริมา ได้เคยประทุษร้ายต่อนางอุตตรา ซึ่งเป็นลูกสาวของท่านปุณณเศรษฐี เมื่อสำนึกผิดแล้วได้ขอโทษนางอุตตรา และทูลขอขมาโทษพระบรมศาสดาด้วย ในวันนั้น หลังจากได้ฟังพระธรรมเทศนาจากพระบรมศาสดาว่าพึงชนะคนโกรธ ด้วยความไม่โกรธ พึงชนะคนไม่ดี ด้วยความดี พึงชนะคนตระหนี่ ด้วยการให้
มงคลที่ ๒๘ เป็นคนว่าง่าย - ทางมาแห่งคุณธรรม
เพราะฉะนั้น เวลามีใครมาชี้โทษตักเตือนเรา ก็อย่าได้ขุ่นมัว ถ้าเราพิจารณาดูแล้วพบว่า เราผิดจริงก็แก้ไขปรับปรุงเสีย ถ้าไม่ผิดก็รับฟังด้วยความเคารพ แล้วค่อยๆ ปรับความเข้าใจในภายหลัง ให้คิดว่าผู้ที่คอยชี้โทษหรือบอกข้อบกพร่องให้เรานั้น เป็นผู้มาชี้บอกขุมทรัพย์ให้แก่เรา เราจะได้ตั้งใจฝึกฝนอบรมตนเองให้ยิ่งๆขึ้นไป
ลักษณะมหาบุรุษ (๓)
เวลาธรรมกาย เป็นเวลาที่ทรงคุณค่าที่ทุกท่านจะได้เจริญสมาธิภาวนาร่วมกัน เพื่อกลั่นกาย วาจา ใจของเรา
อสัญญีสัตตาพรหม
ดูก่อนพราหมณ์ สัตว์ละความยึดถืออัตตาว่าเป็นของเราในสัตว์ทั้งหลายที่เกิดเป็นมนุษย์ เป็นผู้เดียวโดดเด่น น้อมไปในกรุณา เป็นผู้ปราศจากกลิ่นเหม็น เว้นจากเมถุน ตั้งอยู่ในธรรมนี้ และศึกษาอยู่ในธรรมนี้ จึงจะถึงพรหมโลกได้