สะอาดกาย สะอาดใจ
“สัตว์ทั้งหลายสะดุ้งต่ออาชญากันหมด เพราะชีวิตเป็นที่รักของสัตว์ทั้งหลาย ฉะนั้น คนควรเอาตนเป็นเครื่องเปรียบเทียบ แล้วไม่เบียดเบียน ไม่ฆ่ากัน” (ตุณฑิลชาดก)
กรรมของคนเจ้าชู้
กาเมสุมิจฉาจารอันบุคคลซ่องเสพแล้ว อบรมแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปพร้อมเพื่อนรก เป็นไปพร้อมเพื่อกำเนิดในดิรัจฉาน เป็นไปพร้อมเพื่อวิสัยแห่งเปรต วิบากของกาเมสุมิจฉาจารอย่างเบาที่สุด เมื่อมาเกิดเป็นมนุษย์ ก็เป็นไปพร้อมเพื่อความเป็นผู้มีศัตรู มีเวร ไม่เป็นที่รักของคนอื่น
ศีล คุ้มครองตนจากบาปและอกุศล
ศีล ในทางปฏิบัติหมายถึงการงดเว้นจากการประพฤติผิดทางกายและวาจา การควบคุมกายวาจาให้เรียบร้อยงดงาม ให้ปราศจากความมัวหมอง ไม่ให้ผิดปกติธรรมดา กล่าวคือการไม่ทำผิดไม่พูดผิดนั่นเองจัดเป็นศีล ซึ่งจัดเป็นคุณธรรม ที่ทำให้เข้าถึงความเป็นยอดคน เป็นบุคคลผู้สมบูรณ์แบบ มีความเป็นปกติ เป็นผู้ที่เย็นกาย เย็นใจ และมีชีวิตที่ปลอดโปร่ง ปลอดภัยอยู่เสมอ
ทุกข์ของคนพาลในปัจจุบัน
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนพาลนั้นแลย่อมเสวยทุกข์โทมนัส 3 อย่างในปัจจบัน
ทิพยสถานสำหรับผู้มีบุญ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมเกิดในสวรรค์ เหมือนถูกเชิญมาเกิด ธรรม ๔ ประการคือ เป็นผู้งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ เว้นจากการลักทรัพย์ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม เว้นจากการพูดเท็จ บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้แล ย่อมบังเกิดในสวรรค์เหมือนถูกเชิญมาเกิด
สิ่งที่บรรพบุรุษรอคอย
ความวิบัติอันเป็นโทษทางกาย ๓ ประการคือ การฆ่า การลัก การประพฤติผิดในกาม และโทษทางวาจา ๔ ประการคือ พูดโกหก หยาบคาย ส่อเสียด เพ้อเจ้อ และโทษทางใจ ๓ ประการคือ อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ ย่อมมีวิบากเป็นทุกข์
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สั่งสมบุญเพื่อตนเอง
เทพธิดาผู้ได้สั่งสมบุญไว้อย่างดีแล้วในครั้งที่เป็นมนุษย์ ได้เป็นผู้สำรวมด้วยดีในศีล ที่ได้สมาทานไว้ เป็นผู้งดเว้นจากปาณาติบาต เว้นห่างไกลจากอทินนาทาน จากการประพฤติผิดในกาม เว้นขาดจากมุสาวาท และจากการดื่มน้ำเมา เป็นผู้ยินดีในสิกขาบททั้ง ๕ และมีดวงตาเห็นธรรมแทงตลอดในอริยสัจ แล้วผลบุญจะเป็นเ่ช่นไรนั้น
ทบทวนพระธรรมเทศนาหลวงพ่อธัมมชโย วันคุ้มครองโลก
ทบทวนพระธรรมเทศนาหลวงพ่อธัมมชโย เกี่ยวกับวันคุ้มครองโลก (Earth day) ในโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา
สัตตปัตตชาดก ชาดกว่าด้วยความสำคัญผิด
ข้อวินัยให้สงฆ์สาวกปฏิบัติแต่ละบทนั้น มักเกิดขึ้นเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องไม่เหมาะสมเป็นกรณีๆ ไป พุทธกาลครั้งหนึ่งก็เป็นดังนั้น พุทธวินัยครั้งนี้เกิดขึ้นเพราะพระฉัพพัคคีย์ 2 รูปล่วงพระวินัยข้อยึดถือในทรัพย์ มิได้ปล่อยวาง ปล่อยตัวปล่อยใจไปกับกิเลส ภิกษุผู้ก่อเหตุที่ว่านี้ชื่อ พระปัณฑกะ และพระโลหิถกะ
ศีล 5 กับกลอนสุนทรภู่
สุนทรภู่แต่งกลอนไว้มากมาย ในผลงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น พระอภัยมณี นิราศภูเขาทอง ภายในบทกลอนนั้นมีกลิ่นอายของสังคมในยุคนั้นที่ผสมผสานวัฒนธรรมและศาสนา วันนี้เรามาพิจารณา ศีล 5 ที่ปรากฏในบทกลอนกัน