อย่าทอดธุระกับเรื่องที่สำคัญที่สุด
ไม่ว่าเราจะมีภารกิจทางโลกมากมายขนาดไหนก็ตาม ก็ต้องนั่งสมาธิให้ได้ทุกวัน เพราะประสบการณ์ภายในมีเงินเท่าไรก็ซื้อไม่ได้ ต้องทำใจหยุดนิ่งอย่างเดียวเท่านั้นและสิ่งนี้ก็ไม่มีใครทำแทนกันได้ ต้องทำด้วยตัวเอง
ถือศีล 8 ต้องปฏิบัติที่วัดหรือไม่
คำถาม : ปฏิบัติธรรมถือศีล 8 ต้องไปปฏิบัติที่วัดเดิมที่เราเคยไปปฏิบัติหรือไม่คะ?
ธุดงค์ธรรมชัย... ฝึกตน ทนหิว บำเพ็ญตบะ เป็นพระแท้
ขอเชิญชวนสาธุชนผู้มีบุญมาโปรยดอกไม้ พนมมือทำความเคารพ และเปล่งเสียงสาธุการถวายการต้อนรับคณะธุดงค์ เพื่อก่อให้เกิดผลานิสงส์ผลบุญแก่ตนเอง หมู่ญาติ บรรพบุรุษ และท้องถิ่นที่คณะพระธุดงค์ธรรมยาตราผ่านไป โดยดูรายละเอียดได้ที่ www.dmc.tv/tudong หรือ โทร.02-831-1234
ถึงจะท่องจำตำราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม
ถึงจะท่องจำตำราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม ละราคะ โทสะ และโมหะได้ รู้แจ้งเห็นจริง มีจิตหลุดพ้น
ความวิเศษสุดของพระพุทธศาสนา
ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในศีล สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้จักประมาณในโภชนะ หมั่นประกอบความเพียร ภิกษุผู้มีปกติพากเพียรอยู่อย่างนี้ ไม่เห็นแก่นอน ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน เจริญกุศลธรรมเพื่อบรรลุคุณอันเกษมจากโยคะ ผู้ยินดีในความไม่ประมาท มีปกติเห็นภัยในความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานทีเดียว
อาบัตินิสสัคคียปาจิตตีย์ของสงฆ์
คำถาม : พระภิกษุต้องอาบัตินิสสัคคียปาจิตตีย์แล้ว ทำอย่างไรจึงจะพ้นครับ?
เวสารัชชธรรม ๔
พระพิชิตมารผู้ถึงที่สุดโลก ทรงทำโลกทั้งหลายให้ยินดีด้วยพระรัศมี พระองค์ยังดอกปทุม คือ เวไนยสัตว์ให้บานด้วยพระดำรัส ทรงสมบูรณ์ด้วยเวสารัชชธรรม ๔ เป็นอุดมบุรุษ ละความกลัวและความยินดีได้เด็ดขาด ทรงถึงธรรมอันเกษม องอาจกล้าหาญ พระผู้เลิศในโลก ทรงปฏิญาณซึ่งฐานะของผู้องอาจและพุทธภูมิทั้งสิ้น ไม่มีใครจะทักท้วงได้ในฐานะไหนๆ
ธัมมัสสวนมัย จิตผ่องใสได้ฟังธรรม
“ภิกษุทั้งหลาย เวลาที่ทรงคุณค่าที่บุคคลให้เป็นไปโดยชอบแล้วย่อมทำให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ เวลาที่ทรงคุณค่า 4 อย่าง คือเวลาฟังธรรมตามกาล เวลาสนทนาธรรมตามกาล เวลาทำความสงบของใจและเวลาพิจารณาธรรมให้เกิดความรู้แจ้ง” (ทุติยกาลสูตร)
ผลแห่งการเข้าถึงพระรัตนตรัย
ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่งถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่ง ชนเหล่านั้น จักไม่ไปสู่อบายภมู้ิ ละกายมนุษย์แล้ว จักยังหมู่เทวดาให้บริบูรณ์
อาทิตตปริยายสูตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์เป็นสุขเป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน