กุสนาฬิชาดก-ชาดกว่าด้วยประโยชน์ของการคบมิตร
ณ บ้านมหาเศรษฐี นามอนาถบิณฑิกะ ได้เกิดเรื่องวุ่นวายขึ้น เมื่ออนาถบิณฑิกะเศรษฐีได้คบหากับมิตรผู้ที่ฐานะต่ำต้อยกว่า และได้แต่งตั้งให้บุรุษผู้นั้นเป็นผู้ดูแลสมบัติทั้งหมดของตน เหล่าบรรดาญาติพวกพ้องของท่านอนาถบิณฑิกะต่างแสดงความไม่พอใจ และขอให้ท่านเศรษฐีเลิกคบหากับมิตรผู้นั้น
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 93
มโหสถอธิบายหลักของการคบมิตรอย่างชัดแจ้ง หวังจะให้เป็นประโยชน์แก่อาจารย์ทั้ง ๔ โดยปราศจากความระแวงว่าตนกำลังถูกอาจารย์เสนกะต้อนให้ตกหลุมพราง
ทำอย่างไรจึงจะมีอายุยืน เหตุแห่งการมีอายุยืน
เราทราบกันดีแล้วว่า ทุกคนต้องตาย เพราะความตายเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยาก แต่อย่างไรก็ตามในคัมภีร์พุทธศาสน์พระพุทธองค์ได้ตรัสอุบายในการหลีกเลี่ยงจากความตายบางประเภทหรือยืดอายุให้ยืนยาวไว้ดังนี้
ธัมมัทธชชาดก ชาดกว่าด้วยพูดอย่างหนึ่งทำอย่างหนึ่ง
มีภิกษุอยู่รูปหนึ่งเป็นผู้ที่ชอบพูดจาโป้ปดอยู่เสมอ คำพูดอย่างหนึ่งแต่การกระทำอีกอย่างหนึ่งจนเป็นที่ระอาใจในหมู่ภิกษุสงฆ์ด้วยกัน ภิกษุทั้งหลายได้พาภิกษุที่ชอบโกหกไปเข้าเฝ้าองค์พระศาสดาเพื่อให้พระองค์ได้ชี้แนะตักเตือน
เกฬิสีลชาดก ชาดกว่าด้วยปัญญาสำคัญกว่าร่างกาย
พระเจ้าพรหมทัตทรงครองราชสมบัติอยู่ ณ กรุงพาราณสี พระองค์ทรงชอบการกลั่นแกล้งทรมานคนแก่ชราและสัตว์ที่แก่ไร้เรี่ยวแรง นำมากลั่นแกล้งในรูปแบบต่าง ๆ จนท้าวสักกะทนไม่ไหวจำต้องเสด็จลงมาใช้อุบายทำการสั่งสอนให้พระองค์ได้ทรงสำนึกในการกระทำที่ไม่สมควร
ปานียชาดก ชาดกว่าด้วยการทำบาปแล้วรังเกียจบาปที่ทำ
“ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่ากิเลสเป็นของเล็กน้อยไม่มีเลย ธรรมดาว่าภิกษุต้องข่มกิเลสที่เกิดแล้วแล้วเสีย บัณฑิตครั้งก่อนเมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่เสด็จอุบัติต่างก็ข่มกิเลสทั้งหลายเสียได้บรรลุปัจเจกพุทธญาณ ”
ชนสันธชาดก ชาดกว่าด้วยเหตุที่ทำจิตให้เดือดร้อน
ครั้งหนึ่งพระเจ้าโกศลทรงมัวเมาด้วยพระราชอิสริยยศหมกหมุนอยู่ในความสุขที่เกิดแต่กิเลสไม่ปรารถนาจะว่าราชการ ไม่ตัดสินคดีความแม้การบำรุงพระศาสดาและพระพุทธศาสนา พระบรมศาสดาจึงทรงให้โอวาทเตือนสติแก่พระเจ้าโกศลมิให้ทรงอยู่แต่ในความประมาท
ฆตาสนชาดก ชาดกว่าด้วยภัยที่เกิดจากที่พึ่ง
มีนกจำนวนมากอาศัยอยู่บนต้นไม้ใหญ่ริมสระน้ำแห่งหนึ่ง ซึ่งในสระมีพญานาคที่ดุร้ายมากตัวหนึ่ง ฝูงนกจำนวนมากได้ขับถ่ายลงไปในสระน้ำ ด้วยเหตุนี้จึงเป็นที่มาของความหายนะที่ได้เกิดขึ้นกับฝูงนกเหล่านั้น
มหาสุวราชชาดก ชาดกว่าด้วยความพอเพียง
ในช่วงฤดูร้อนที่เกิดความแห้งแล้งแสนสาหัส บรรดาต้นไม้ต่างพากันล้มตาย มีพญานกแขกเต้าเพียงตัวเดียวที่ไม่ยอมทิ้งต้นมะเดื่อไปไหนถึงแม้ว่าต้นมะเดื่อจะไร้ผล ไร้กิ่ง ไร้ใบ แต่พญานกก็แทะกินกิ่งก้านที่พอมีประทังชีวิตของตน จนร้อนถึงบัลลังก์ของท้าวสักกะ
ฌานโสธนชาดก ชาดกว่าด้วยสุขเกิดจากสมาบัติ
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหารทรงปรารภการที่พระสารีบุตรสามารถพยากรณ์ปัญหาที่พระองค์ตรัสถามโดยย่อได้อย่างพิศดาร ณ ประตูสังกัสนคร