บุพกรรมของพระพุทธเจ้าตอนที่ ๑
บุคคลที่ทำกรรมชั่วไว้ ถึงจะหนีไปทางอากาศ ก็พ้นจากกรรมชั่วไปไม่ได้ หนีไปในท่ามกลางมหาสมุทร ก็พ้นจากกรรมชั่วไปไม่ได้ หนีเข้าไปในซอกเขาก็ไม่พ้นจากกรรมชั่วไปได้ บุคคลอยู่ในส่วนแห่งภาคพื้นใดพึงพ้นจากบาปกรรม ส่วนแห่งภาคพื้นนั้น ย่อมไม่มี
คาถาต่างๆ มีกำเนิดมาอย่างไรใครเป็นผู้แต่ง
คาถาต่างๆ เช่นชัยมงคลคาถา คาถาชินบัญชร มีกำเนิดมาอย่างไร ใครเป็นผู้แต่งคาถาเหล่านี้
โทษของการว่าร้ายผู้อื่น
พูดแต่วาจาสุภาษิต ซึ่งพระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ถ้าอารยชนใคร่จะพูด ก็เป็นผู้ฉลาด รู้จักกาล พูดแต่ถ้อยคำที่ประกอบด้วยเหตุผลที่อารยชนประพฤติกัน ไม่พูดด้วยความโกรธ ไม่ยกตัว มีใจสงบ ไม่ตีเสมอ ไม่ก้าวร้าว ไม่พูดเอาหน้า รู้ชอบแล้วจึงกล่าว ถ้าเขาพูดดีพูดถูกก็อนุโมทนา เมื่อคนอื่นพูดผิด ก็ไม่รุกราน เขาพูดพลั้งไปบ้างก็ไม่ถือสาหาความ ไม่พูดพล่าม ไม่พูดเหยียบย่ำคนอื่น การพูดของสัตบุรุษ เป็นการพูดเพื่อให้เกิดความรู้ประเทืองปัญญา อารยชนมีปกติสนทนากันอย่างนี้
การทำร้ายผู้อื่นโดยการต่อสู้ป้องกันตัวถือว่าบาปหรือไม่
การที่เราต่อสู้ป้องกันตัวเอง ถ้าทำโดยสมเหตุสมผล ควรทำ แต่ว่าอย่าทำให้หนักเกินกว่าเหตุ อย่าให้ถึงตาย ถ้าถึงตายบาปนั้นจะทำให้เราอายุสั้นไม่คุ้มกัน
อานิสงส์ถวายน้ำสรงสนาน
สัปบุรุษบริจาคทานมากแล้ว ก็ไม่รู้สึกเสียดาย ท่านผู้มีปัญญาเห็นแจ้ง ย่อมสรรเสริญทานที่สัปบุรุษให้แล้วอย่างนี้ บัณฑิตผู้มีศรัทธา มีใจอันสละแล้ว บริจาคทานอย่างนี้แล้ว ย่อมเข้าถึงโลกอันไม่มีความเบียดเบียน มีแต่ความสุข
อานุภาพพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ
ความศักดิ์สิทธิ์ของพระเดชพระคุณหลวงปู่พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)ที่ประจักษ์แก่สายตาศิษยานุศิษย์ทั้งหลาย
บวชหนึ่งพรรษาเพื่อโยมพ่อโยมแม่
บวชอย่างน้อยหนึ่งพรรษาเพื่อพ่อแม่ ถือเป็นการตอบแทนพระคุณท่านที่ดีที่สุด บวชอย่างน้อยหนึ่งพรรษาให้อะไรมากว่าที่คิด
โลสกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษของความอิจฉาริษยา
ครั้งหนึ่งในสมัยพุทธกาล ณ ชนบทแคว้นโกศลมีหมู่บ้านชาวประมงประมาณ 1,000 ครอบครัว อาศัยอยู่ด้วยความผาสุกตลอดมา ครั้นต่อมาหญิงคนหนึ่งในหมู่บ้านได้ตั้งครรภ์ นับตั้งแต่นั้นมาทุกครอบครัวต่างก็ทำมาหากินฝืดเคืองลำบากมากขึ้นตามลำดับ
ยิ่งสูงส่งยิ่งอ่อนน้อม
บุคคลผู้ยิ่งใหญ่ที่ประสบความสำเร็จทั้งทางโลกและทางธรรม จะมีคุณธรรมอย่างหนึ่งที่เหมือนกัน นั่นก็คือ... “ความอ่อนน้อมถ่อมตน”
มิตตวินทุกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษผู้ลุอำนาจความปรารถนา
ครั้งหนึ่งเมื่อสมเด็จพระพุทธศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเทศนาข้อตัณหาอันเป็นสิ่งกว้างขวางไร้ขอบเขตจำกัด ณ พระเชตะวันมหาวิหารในนครหลวงแห่งมคธรัฐ พุทธวัจนในพระธรรมบทนี้ได้รับการจดจำต่อๆ กันว่าชนเหล่าใดมากำหนัดยินดีตัณหานั้น ชนเหล่านั้นก็เช่นผู้ถูกจักรกรดไว้