ท้าวสักกะจอมเทพ
ท้าวสักกจอมเทพในชั้นดาวดึงส์นั้น กระทำบุญกิริยาวัตถุที่สำเร็จด้วยทานเป็นอดิเรก ทำบุญกิริยาวัตถุที่สำเร็จด้วยศีลเป็นอดิเรก ย่อมก้าวล่วงพวกเทวดาชั้นดาวดึงส์โดยฐานะ ๑๐ ประการ คือ อายุทิพย์ วรรณะทิพย์ สุขทิพย์ ยศทิพย์ อธิปไตยทิพย์ รูปทิพย์ เสียงทิพย์ กลิ่นทิพย์ รสทิพย์ และโผฏฐัพพทิพย์
พรหมปุโรหิตาภูมิ
ดูก่อนเกวัฏฏะ อิทธิปาฏิหาริย์ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมแสดงฤทธิ์ได้หลายอย่าง คือ คนเดียวเป็นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็นคนเดียวก็ได้ ทำให้ปรากฏก็ได้ ทำให้หายไปก็ได้ ทะลุฝากำแพงภูเขาไปไม่ติดขัดเหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้นดำลงในแผ่นดินเหมือนในน้ำก็ได้ เดินบนน้ำไม่แยกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ นั่งบัลลังก์เหาะไปในอากาศเหมือนนกก็ได้ ลูบคลำพระจันทร์พระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากก็ได้ ใช้อำนาจกาย ไปตลอดพรหมโลกก็ได้
สำรวมอินทรีย์นำชีวีพ้นทุกข์
ก็ผู้ใด รู้ไม่เท่าทันเหตุที่เกิดขึ้นโดยฉับพลัน ผู้นั้นย่อมตกอยู่ในอำนาจของศัตรู และจะเดือดร้อนในภายหลัง ส่วนผู้ใด รู้เท่าทันเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยฉับพลัน ผู้นั้นก็จะพ้นจากการเบียดเบียนของศัตรู เหมือนไก่พ้นจากกรงเล็บของแมว ฉะนั้น
ฝึกใจให้หยุดนิ่ง
ท่านทั้งหลายพึงทำความเพียรเครื่องเผากิเลส พระตถาคตทั้งหลายเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอก เหล่าชนผู้ดำเนินตามแล้ว มีปกติเพ่งพินิจ ย่อมหลุดพ้นจากเครื่องผูกแห่งมารได้
ธรรมกายคือหลักของชีวิต
เมื่อใดบัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์ นี้เป็นทางแห่งความหมดจด
วันนี้วันที่สิบสองของการเข้าพรรษา : พระนิพพานต้องทำให้แจ้ง
วันนี้วันที่ 12 นับจากวันเข้าพรรษา พรรษานี้เราให้ชื่อว่า พรรษาแห่งการบรรลุธรรม คือ พระเห็นพระ เณรเห็นพระ โยมเห็นพระ เพราะฉะนั้นเมื่อเราตั้งใจมั่นกันอย่างนี้แล้วก็จะต้องทำให้ได้ พยายามหมั่นฝึกฝนอบรมใจกันไปเรื่อย ๆ
สัญญาแห่งความเลื่อมใส
ท่านจงเจริญพุทธานุสติ อันยอดเยี่ยมกว่าภาวนาทั้งหลาย ท่านเจริญพุทธานุสตินี้แล้ว จักยังใจให้เต็มได้
ความวิเศษสุดของพระพุทธศาสนา
ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในศีล สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้จักประมาณในโภชนะ หมั่นประกอบความเพียร ภิกษุผู้มีปกติพากเพียรอยู่อย่างนี้ ไม่เห็นแก่นอน ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน เจริญกุศลธรรมเพื่อบรรลุคุณอันเกษมจากโยคะ ผู้ยินดีในความไม่ประมาท มีปกติเห็นภัยในความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานทีเดียว
ชัยชนะครั้งที่ ๒ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอน ชนะอาฬวกยักษ์)
อายตนนิพพานเป็นธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง ต้องเป็นผู้ที่มีใจหยุดนิ่งอย่างสมบูรณ์แล้วเท่านั้น จึงจะเข้าใจได้แจ่มแจ้ง ปัจจุบันแม้หลายท่านจะมีความเห็น