มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - สอนตน สอนคนให้ถึงธรรม
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงธรรมด้วยอาการ ๓ อย่างด้วยกัน คือ ประการแรก ทรงสอนให้ผู้ฟังรู้ยิ่งเห็นจริงในสิ่งที่ควรรู้ควรเห็น ประการที่สอง ทรงแสดงธรรมมีเหตุที่ผู้ฟังจะสามารถตรองตามให้เห็นจริงตามที่พระองค์ทรง แสดงได้ และประการสุดท้าย ทรงแสดงธรรมเป็นอัศจรรย์ คือ ผู้ปฏิบัติตามธรรมนั้นจะได้รับประโยชน์ตามสมควรแก่การปฏิบัติ
What is the most important belief for monks?
พระพุทธศาสนา ศาสนาแห่งสันติภาพ - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - หยุดใจเพื่อให้เป็นไทจากอารมณ์
พระราชาเห็นว่า การเข้าหาสมณะผู้สงบและรับฟังธรรมะจากท่าน คงจะทำให้ใจสงบขึ้นมาได้ จึงเสด็จพระราชดำเนินไปอารามที่พระนารทเถระจำพรรษาอยู่ พระเถระได้แสดงธรรมให้พระเจ้ามุณฑะว่า "ขอถวายพระพรมหาบพิตร ในโลกนี้มีฐานะอยู่ ๕ประการ ที่สมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใครๆในโลกไม่พึงได้ ฐานะ ๕อย่างนั้นคือ
The 38 Ways to Happiness :- Artfulness in Knowledge (6)
The 38 Ways to Happiness. The Third Group of Blessings. Blessing Seven : Artfulness in Knowledge
ทำอย่างไรถึงจะได้ไปนิพพาน
จากภพภูมิที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น ภูมิมนุษย์เท่านั้น ที่มีความพิเศษกว่าภูมิอื่น เพราะเป็นสถานที่สร้างบุญและบาปได้อย่างเต็มที่
The practitioner stands his mind on some parts of the body
The practitioner stands his mind on some parts of the body.
หัวใจพระพุทธศาสนาในแดนพุทธภูมิ
“อีกไม่ช้านาน ความทรงจำในประวัติศาสตร์กำลังจะกลับมา เมื่อชาวพุทธอินเดียจะสร้างอดีตขึ้นมาใหม่ จากความรู้และแรงศรัทธาต่อพระพุทธเจ้า” วันนี้ การมาถึงของโครงการใหญ่เพื่อส่งต่อคำสอนดั้งเดิมสู่อ้อมอกแผ่นดินแม้ได้ช่วย ให้ชาวพุทธอินเดียจำนวนน้อยนิด มีฐานรากในการ
คำกล่าวแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
คำกล่าวแสดงตนเป็นพุทธมามกะ (พิธีกรกล่าวนำ) หันทะมะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภา คะนะมะการัง กะโรมะเสฯ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธัสสะ, นะโมตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธัสสะ, นะโมตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธัสสะ, ขอนอบน้อม, แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า, พระองค์นั้น, ซึ่งเป็นผู้ห่างไกลจากกิเลส, ตรัสรู้ชอบได้, โดยพระองค์เองฯ
หลักธรรมในการแก้ปัญหาให้หมดสิ้นไป
เมื่อคนเรามีปัญหา จะมีหลักธรรมประการใดบ้าง ที่จะยึดเป็นหลักในการปฏิบัติเพื่อที่จะแก้ปัญหาให้หมดสิ้นไป โดยที่เป็นหลักธรรมที่จะสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้ดีที่สุด