วันรัฐธรรมนูญ 2566 ประวัติความเป็นมาความสำคัญ
วันรัฐธรรมนูญ 10 ธันวาคม ของทุกปี วันรัฐธรรมนูญตั้งขึ้นเพื่อเป็นการระลึกถึงรัฐธรรมนูญฉบับแรก อันเป็นฉบับถาวร เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ และเป็นเครื่องกำหนดระเบียบแบบแผนของสังคม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานให้กับปวงชนชาวไทย
พลังแห่งศรัทธา มหัศจรรย์ศาสนาสถานในอินเดีย
DOU ขอเชิญทุกท่านศึกษาอารยธรรม และเยี่ยมชนที่สุดแห่งความมหัศจรรย์ถ้ำอชันต้า-เอลโลร่า มรดกโลก INCREDIBLE INDIA-AJANTA CAVES ที่ได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกโลก ที่คุณอาจไม่เคยเห็นมาก่อน
ร่วมเดินทางแสวงบุญ สักการะบูชาสังเวชนียสถานทั้ง 4 ณ ประเทศอินเดียและเนปาล
ขอเรียนเชิญทุกท่านร่วมเดินทางแสวงบุญ สักการะบูชาสังเวชนียสถานทั้ง 4 ณ ประเทศอินเดีย และเนปาล
เยือนดินแดนอารยธรรม เมียนมาร์
เยือนดินแดนอารยธรรม สัมผัสทะเลเจดีย์ แห่งเมืองพุกาม และร่วมพิธีตักบาตรพระสงฆ์ 20,000 รูป ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า โดยสายการบิน Myanmar Airways (8M)
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๘)
จากฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกถึงประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศไทย นั่นก็คือพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ คือ รัชกาลที่ ๑ ที่...
สร้างมหาวิหาร มหาทานข้ามชาติ
การให้ทาน เป็นเครื่องฝึกจิตที่ยังไม่ได้ฝึก การไม่ให้ทาน เป็นเครื่องประทุญร้ายจิตที่ฝึกแล้ว (ปฐมทานสูตร)
พิธีหล่อรูปเหมือนทองคำพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) องค์ที่ 8
ในการหล่อรูปเหมือนหลวงปู่ การหล่อรูปเหมือนหลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญไม่ใช่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นง่าย ๆ ดังนั้นสาธุชนผู้มีบุญทุกท่านไม่ควรพลาดโอกาสในการสั่งสมบุญนี้เพราะการหล่อ รูปเหมือนหลวงปู่วัดปากน้ำ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นท่ามกลางเหตุแห่งความยากดังต่อไปนี้ คือ.....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว
หีดธัมม์ งานศิลป์ ถิ่นเหนือ
หีดธัมม์ หรือ หีดธรรม เป็นคำที่ชาวเหนือใช้เรียกหีบเก็บคัมภีร์ใบลาน มีใช้สืบต่อกันมาแต่โบราณกาลในดินแดนล้านนา ส่วนใหญ่เป็นคัมภีร์ใบลานที่จารด้วยอักษรธรรมล้านนาซึ่งเป็นอักษรที่ใช้อย่างแพร่หลายบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย หีบพระธรรมที่ใช้ในภูมิภาคนี้นับว่ามีเอกลักษณ์เฉพาะที่แตกต่างจากหีบเก็บคัมภีร์ใบลานของภาคอื่น เพราะมีลักษณะเป็น “ทรงลุ้ง” คือเป็นทรงสี่เหลี่ยม ด้านล่างของฐานสอบเข้า ส่วนปากหีบผายออก มีฝาครอบปิดด้านบนซึ่งมีหลายลักษณะทั้งฝาตัด ฝาคุ้ม และฝาเรือนยอด