ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 85
มโหสถบัณฑิตยิ้มน้อยๆ พลางอธิบายว่า “การที่ข้าพเจ้าต้องมาทำงานเป็นลูกมือนางช่างหม้อเช่นนี้ เป็นความประสงค์ของข้าพเจ้าเอง ข้าพเจ้า ใคร่ครวญดีแล้วจึงได้กระทำเช่นนี้ ก็การสละความสุขเล็กน้อยเพื่อสุขอันไพบูลย์ในอนาคต เป็นสิ่งที่บัณฑิตทั้งหลายพึงกระทำมิใช่หรือ ความลำบากกายเพียงน้อยนิดเพื่อประโยชน์สุขอันยิ่งใหญ่ของวิเทหรัฐ จะไม่ควรหรือ”
ขรัสสรชาดก ชาดกว่าด้วยบุตรที่มารดาละทิ้ง
วันหนึ่ง มีบัณฑิตผู้หนึ่งได้เดินทางไปพักที่ในหมู่บ้านนั้น เขาได้เห็นอำมาตย์ผู้นี้ เวลาจะเดินทางไปไหน ต้องมีคนตีฆ้องกลองนำหน้า มีบริวารห้อมล้อมเป็นที่เอิกเกริกใหญ่โต “ เวลาใดที่พวกโจรมาปล้นบ้าน เผาบ้านเรือน ฆ่าโคกิน แล้วจับเอาคนไปเป็นเชลยนั้น เมื่อนั้นบุตรธิดาละทิ้งแล้ว จึงมาตีกลองเสียงอึกทึก โดยแท้จริงอำมาตย์ผู้นี้เองเป็นคนทุจริต เป็นผู้สมคบกับโจร ”
สังวรมหาราชชาดก ชาดกว่าด้วยพระราชาผู้มีศีลาจารวัตรที่ดีงาม
พระโอรสสังวรกุมารเป็นพระโอรสองค์ที่ ๑๐๐ แห่งพระราชาเมืองพาราณสี ซึ่งเป็นผู้ที่เคารพรักใคร่ ของเหล่าปวงประชา เหตุเพราะพระองค์เป็นผู้ที่มีศีลาจารวัตรงดงาม เป็นผู้ไม่ความริษยา เคารพนบนอบในผู้มีคุณ มีความยินดีในธรรม ทำให้พระองค์เป็นผู้ที่ถูกเลือกให้ครองราชสมบัติแทนพระราชบิดาของตน
"เจสัน บอร์น"ใจบุญ บริจาคความช่วยเหลือเหยื่อเฮติ
ต่อลมหายใจ มหาวิทยาลัยนาลันทา
ชาวพุทธในหลายประเทศ รวมทั้งรัฐบาลอินเดียกำลังผลักดันให้โครงการก่อสร้างมหาวิทยาลัยนาลันทายุคใหม่เกิดขึ้นมาอีกครั้ง โดยมีการวางงบประมาณคร่าว ๆ ไว้ที่ 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือราว 3 หมื่นล้านบาท
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๕)
เราจะเห็นได้ว่า กว่าพระอริยเจ้าทั้งหลายที่จะมีวันนี้ได้ ต่างมีเบื้องหลังแห่งความสำเร็จ คือ การสั่งสมบุญบารมีมาอย่างเต็มที่ เต็มกำลังทั้งนั้น แต่ละท่านล้วนมีประวัติการสร้างบารมีที่งดงาม ไม่ใช่ว่า ปรารถนาจะเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ แต่ไม่ได้ลงมือทำความดีใดๆ อย่างนี้ไม่สมหวังแน่นอน
ศีล และ สมาธิ เป็นเรื่องสากล
พระธรรมเทศนา โดย พระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อทัตตชีโว) รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : เศร้าหมอง - บริสุทธิ์
ใครทำกรรมใดไว้ ย่อมได้รับผลแห่งกรรมนั้น ไม่มีใครดลบันดาลให้เป็นไป เว้นแต่ตัวเราเอง
ทำไมต้อง”บวชแต่หนุ่ม”
ประเพณีบวชแต่หนุ่ม เมื่ออายุครบบวช คือ ๒๐ ปี เป็นรากฐานที่มั่นคง ของพระพุทธศานาในเมืองไทยมานับพันปี ทำให้สังคมไทยเข้มแข็งด้วยศีลธรรม
วิธีสร้างสรรค์สังคมให้อยู่ร่วมกันได้อย่างร่มเย็นเป็นสุข
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสอนวิธีสร้างสรรค์สังคมให้อยู่ร่วมกันได้อย่างร่มเย็นเป็นสุขไว้อย่างไร?