สัปปุริสธรรม 7
ธรรมที่ทำให้คนเป็นสัตบุรุษ หรือ เป็นคนดี มีคุณธรรม เป็นคนเก่ง มี 7 ประการ ด้วยกัน คือ 1. ธัมมัญญุตา เป็นผู้รู้จักเหตุ 2. อัตถัญญุตา เป็นผู้รู้จักผล 3. อัตตัญญุตา เป็นผู้รู้จักตน 4. มัตตัญญุตา เป็นผู้รู้จักประมาณ 5. กาลัญญุตา เป็นผู้รู้จักกาล 6. ปริสัญญุตา เป็นผู้รู้จักชุมชน 7. ปุคคลัญญุตา หรือ ปุคคลปโรปรัญญุตา เป็นผู้รู้จักบุคคล
สัปปุริสธรรม 7 ธรรมของสัตบุรุษ
บทธรรมแต่ละหมวด ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์สอนไว้แล้วมีบันทึกในพระไตรปิฎก ล้วนคือ “ขุมทรัพย์ใหญ่ของมวลมนุษยชาติ” ความรู้ทางโลกที่หมุนเวียนเปลี่ยนไปเรื่อย แต่ความรู้ในพระไตรปิฎกเป็น
Soft Skill เคล็ดไม่ลับสู่ความสำเร็จในชีวิต
มีผู้กล่าวไว้ว่า "Hard Skill ทำให้คุณได้สัมภาษณ์งาน แต่คุณจะได้งานและรักษางานจนกระทั่งเจริญรุ่งเรืองต่อไปได้ จำเป็นต้องมี Soft Skill"
วัดภาวนาไถจง จัดพิธีบูชาข้าวพระ
วัดภาวนาไถจง ประเทศใต้หวัน จัดพิธีบูชาข้าวพระเมื่อวันอาทิตย์ต้นเดือนที่ผ่านมา
ฆราวาสธรรม 4 ธรรมของผู้ครองเรือน
ฆราวาสธรรม 4 ธรรมของผู้ครองเรือน ประกอบด้วย สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ ผู้นำฆราวาสธรรม 4 ไปใช้ จะมีความสุขความสำเร็จในชีวิต
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์กับงานด้านการปกครอง
งานด้านการปกครอง หมายถึง ศาสนากิจด้วนการสอดส่องดูแล รักษา ความเรียบร้อยดีงาม เพื่อให้พระภิกษุสามเณรที่อยู่ในวัดหรือในปกครองปฏิบัติตามพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับ คำสั่ง กฎมหาเถรสมาคม หรือวัฒนาธรรมอันดีงามของสังคม
เหตุแห่งความมีอายุยืน
“..ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม เหมือนร่มใหญ่ที่กางกั้นฝนในฤดูฝนหรือกันแดด ในฤดูร้อน เพราะฉะนั้นธรรมบาลกุมารย่อมได้รับการคุ้มครองโดยธรรม เราจึงเชื่อว่า เขาต้องไม่ตายแน่นอน..”
กุศลกรรมบถ 10 ประการ
โลกเปลี่ยนไปเพราะใจมนุษย์แปรปรวนท่านสาธุชนทั้งหลาย โลกมนุษย์นี้เป็นชุมทางของการสั่งสมบุญและบาป ส่วนภพภูมิต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสุคติหรือทุคติ เป็นเพียงผลที่มารองรับการกระทำของมนุษย์ทั้งสิ้นเป็นผลที่เกิดจากความสะอาดและไม่สะอาดทางกาย วาจา ใจ โลกจะฟูขึ้นหรือยุบลง เจริญขึ้นหรือเสื่อมลง วัฒนะหรือหายนะ ก็เพราะการประพฤติกุศลกรรมบถ 10 ประการนี้
กุศลกรรมบถ ศีล..มารดาแห่งความดี
ศีล เป็นเขตแดน เป็นเครื่องปิดกั้นความทุจริต ทำ จิตให้ร่าเริงแจ่มใสและเป็นท่าหยั่งลงมหาสมุทร คือ นิพพานของ พระพุทธเจ้าทั้งหลาย เพราะฉะนั้น บุคคลพึงรักษาศีลให้บริสุทธิ์ (สีลวเถรคาถา)
อยู่ในสังคมโดยที่ไม่กวนใจใคร
คำถาม : เจริญพร วันนี้มีคำถามจากคุณโยมท่านหนึ่งถามเข้ามาว่า ทำอย่างไร เราจะอยู่ในสังคมโดยที่ไม่กวนใจใครและไม่มีใครมากวนครับ