ทำไม ? ใครๆ ก็บวชกัน
การบวชพระแสนรูป เป็นสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้นง่าย ๆ และไม่ใช่สิ่งที่ใครคนใดคนหนึ่งคิดจะทำขึ้นมาก็ทำได้ ต้องเกิดจากการรวมพลังพุทธบริษัท 4 ทั้งแผ่นดินจึงจะสำเร็จ ซึ่งเมื่อทำสำเร็จแล้ว ก็จะส่งผลต่อความยั่งยืนของพระพุทธศาสนา ให้ปักหลักอยู่คู่ผืนแผ่นดินไทยอย่างยืนยาว
คำขวัญวันสงกรานต์
คำขวัญวันสงกรานต์ คำขวัญวันสงกรานต์ 2552 คำขวัญวันสงกรานต์ 2553 คำขวัญวันสงกรานต์ 2555
โครงการบวชพระ อุปสมบทหมู่ภาคฤดูร้อน ปี พ.ศ.2558
โครงการอุปสมบทหมู่ ภาคฤดูร้อน 100,000 รูป ทุกหมู่บ้านทั่วไทย อบรม 7 มี.ค. - 2 พ.ค. 2558 รวม 57 วัน ณ วัดที่เป็นศูนย์อบรมประจำอำเภอทั่วประเทศ สอบถามโทร. 02-831-1234, 087-707-7771 ถึง 3
กลิ่นศีล กลิ่นธรรม
ถ้าอยากรู้ว่าเรามีความสะอาดในการกล่าววาจามากน้อยแค่ไหน พระอรรถกถาจารย์ได้วินิจฉัยไว้ ดังนี้ คือ 1. พูดเรื่องไม่จริง 2. มีจิตคิดจะพูดให้ผิดไปจากความจริง 3. พยายามพูดให้ผิดจากความจริง 4. คนฟังเข้าใจความหมายตามที่พูดนั้น
70 ปี หลวงพ่อธัมมชโย
70 ปี หลวงพ่อธัมมชโย กับ 100 กว่าโครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลก 44 ปี วัดพระธรรมกาย มโนปณิธาน...อันยิ่งใหญ่ที่ไม่เคยเปลี่ยน สร้าง...วัด...ให้เป็น “วัด” สร้าง...พระ...ให้เป็น “พระแท้” สร้าง...คน...ให้เป็น “คนดี”
ประวัติหลวงพ่อธัมมชโย
หลวงพ่อธัมมชโย มีนาม เดิมว่า ไชยบูลย์ สุทธิผล ถือกำเนิดเมื่อวันเสาร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ.2487 ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 6 ปีวอก เวลา 18.00 น. ณ บ้านริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ต.บ้านแป้ง อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี ท่านเป็นบุตรของนายช่างใหญ่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม นามว่าจรรยงค์ สุทธิผล กับคุณแม่จุรี สุทธิผล
อยากฟันสวยมาทางนี้
ฟันมีหน้าที่หลัก คือ ฉีก บด อาหารให้คลุกเคล้ากับน้ำลาย และเป็นส่วนสำคัญในการพูด และออกเสียง เป็นส่วนประกอบสำคัญที่ทำให้บุคลิกภาพดูดี เกิดความเชื่อมั่น
ประวัติ หลวงพ่อธัมมชโย ตอน จากวันวานถึงวันนี้
วัดพระธรรมกายในวันนี้ ได้ผ่านวันเวลาอันยาวนานมาถึง 4 ทศวรรษ โดยมุ่งมั่นในการ เผยแผ่พระพุทธศาสนา เพื่อสันติสุขแก่มวลมนุษยชาติตลอดมา
ประวัติ หลวงพ่อธัมมชโย ตอน พลิกทุ่งนาฟ้าโล่ง สู่บุญสถานอันศักดิ์สิทธิ์
เมื่อทุกคนมีความพร้อมทั้งกายใจ การสร้างวัดพระธรรมกายจึงเริ่มขึ้น เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513 ซึ่งตรงกับวันมาฆบูชา
ประวัติ หลวงพ่อธัมมชโย ตอน เข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์
ชีวิตใหม่ในเพศบรรพชิต พระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) เป็นพระภิกษุผู้เคร่งครัดในศีลาจารวัตร มุ่งศึกษาธรรมะทั้งภาคปริยัติและปฏิบัติ พร้อมกันนั้นท่านยังทำหน้าที่สอนธรรมะปฏิบัติแก่สาธุชน ณ บ้านธรรมประสิทธิ์แทนคุณยายอาจารย์อยู่เป็นประจำ จนกระทั่งมีสาธุชนมาปฏิบัติธรรมเพิ่มมากขึ้นจนเต็มสนามหญ้าหน้าบ้าน โดยเฉพาะในวัน อาทิตย์นั้นต้องเปิดประตูรั้วทิ้งไว้เพราะมีคนส่วนหนึ่งต้องนั่งอยู่นอกรั้ว