มสกชาดก ชาดกว่าด้วยมีศัตรูผู้มีปัญญาดีกว่ามีมิตรโง่
อันชื่อว่ามนุษย์ย่อมมีทั้งดีและร้าย เมื่อมีคนที่ทำกรรมดีก็มีคนที่ทำกรรมชั่วเช่นกัน ครั้งหนึ่งเมื่อพระบรมศาสดาเสด็จจาริกไปในหมู่ชนชาวมคธได้เกิดเรื่อพิสดารขึ้น
กากชาดก ชาดกว่าด้วยการผูกอาฆาต
เจ้ากาหัวรั้น ผู้ไม่ยอมเชื่อฟังคำตักเตือนของสหาย ได้ก่อเหตุถ่ายรดศีรษะของพราหมณ์ปุโรหิตด้วยความตั้งใจที่จะกลั่นแกล้ง จึงก่อให้เกิดความอาฆาตขึ้นในใจของพราหมณ์ปุโรหิตและเป็นเหตุให้เหล่าพวกพ้องพีน้องกาทั้งหลายต้องพากันเดือดร้อนกันถ้วนหน้า
โลสกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษของความอิจฉาริษยา
ครั้งหนึ่งในสมัยพุทธกาล ณ ชนบทแคว้นโกศลมีหมู่บ้านชาวประมงประมาณ 1,000 ครอบครัว อาศัยอยู่ด้วยความผาสุกตลอดมา ครั้นต่อมาหญิงคนหนึ่งในหมู่บ้านได้ตั้งครรภ์ นับตั้งแต่นั้นมาทุกครอบครัวต่างก็ทำมาหากินฝืดเคืองลำบากมากขึ้นตามลำดับ
พกชาดก-ชาดกว่าด้วยบาปกรรมของผู้ฉลาดแกมโกง
พระเชตะวันมหาวิหาร ณ เวลาในพุทธกาลสมัยหนึ่งยังมีพระภิกษุผู้มีศิลปะในการตัดเย็บ ย้อมสี ปะ ชุนจีวร ฝีมือดีจนเป็นที่ยอมรับในหมู่สงฆ์ ภิกษุรูปนี้ชาญฉลาดในการทำจีวรให้งาม ภิกษุสงฆ์ทั้งหลายพากันขนานนามตามความหมายนั้นว่า พระจีวรวัฒฑกะ
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ละวางเบญจกามคุณ
โสณกะได้ยินเสียงดนตรี ก็รู้เหตุการณ์โดยตลอด จึงรีบหลบเข้าไปในที่กำบัง ปุโรหิตได้ให้เจ้าพนักงานประโคมดนตรี เพื่อเฉลิมฉลองพระราชาองค์ใหม่ และกราบทูลถวายพระราชสมบัติ พร้อมทั้งอภิเษกพระโพธิสัตว์ให้เป็นพระราชา ณ ที่อุทยานนั้นเอง เมื่อเสด็จเข้าสู่พระราชวังพร้อมด้วยอิสริยยศอันยิ่งใหญ่ ทรงลืมโสณกะผู้เป็นพระสหายอย่างสนิท
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (1)
นรชนผู้กำหนัดในกาม ยินดีในกาม หมกมุ่นอยู่ในกาม กระทำบาปกรรมแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ ส่วนนรชนเหล่าใด ละกามทั้งหลายได้แล้ว เป็นผู้ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ บรรลุความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งเดียว นรชนเหล่านั้นย่อมไม่ไปสู่ทุคติ
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๑)
ช่วงชีวิตของคนเรานั้นสั้นนัก การยอมเสียเวลาเพื่อลงทุนทำอะไรสักอย่างหนึ่ง จะต้องใคร่ครวญให้ดี เพื่อให้คุ้มค่ากับเวลาและเงินตราที่เสียไป
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - รอดชีวิตเพราะพหูสูต
เมื่อครั้งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรา เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ปุโรหิต ชื่อว่า เสนกบัณฑิต ผู้มีปัญญามาก ในตอนนี้ท่านได้ช่วยพราหมณ์ชราให้พ้นภัยจากงูร้ายที่เข้าไปอยู่นอนกินข้าวสตุก้อน ข้าวสตุผง อยู่ในไถ้ของพราหมณ์ ด้วยปัญญาอันชาญฉลาด เหตุการณ์ทั้งหมดจะเป็นอย่างไรนั้น
กระแสแห่งกรรม (๒)
ภิกษุทั้งหลาย โลสกติสสะผู้นี้ ได้ประกอบกรรมคือ ความเป็นผู้มีลาภน้อย และความเป็นผู้ได้อริยธรรมของตนด้วยตนเอง เนื่องด้วยครั้งก่อนเธอกระทำอันตรายลาภของผู้อื่น จึงเป็นผู้มีลาภน้อย แต่เป็นผู้บรรลุอริยธรรมได้ด้วยผลที่บำเพ็ญวิปัสสนา คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
พระธุดงค์มาโปรดแล้ว
การอยู่ธุดงค์ของพระธุดงค์ทั้งหลาย คือ การบำเพ็ญตบะเพื่อการขจัดกิเลสที่ยิ่งยวดกว่าการประพฤติธรรมทั่วไป เป็นการปฏิวัตินิสัยของตัวเอง จากที่เคยเลี้ยงยากกลายเป็นอยู่ง่ายกินง่าย จากนิสัยที่ชอบฟุ่มเฟือยก็จะเหลือเพียงปัจจัยสี่ที่จำเป็น