มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ลมหายใจแห่งสันติภาพ
การที่มนุษย์ไม่มีศีลธรรม เพราะแหล่งที่มาของความคิดที่อยู่ภายในไม่บริสุทธิ์ มีแต่ความคิดคำพูดและกระทำที่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ซึ่งจะส่งผลให้ดินฟ้าอากาศแปรปรวน ผลหมากรากไม้ถอยรสโอชาลง โรคภัยไข้เจ็บจะเกิดขึ้น โรคร้ายแรงที่ไม่เคยมีก็จะเกิดขึ้น รักษายาก สรรพคุณของโอสถทั้งหลายที่เคยรักษาโรคหายได้ ก็ถอยสรรพคุณลงไป อายุมนุษย์จะสั้นลงไปทุกปีๆ
จักษุของพระพุทธเจ้า
มนุษย์ทุกคนล้วนปรารถนาความสุข ความอบอุ่นใจ และความปลอดภัยในชีวิต จึงพยายามเสาะแสวงหาที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริง แต่หลายชีวิตก็ยังไม่รู้ว่า ที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริงนั้นคือสิ่งใด อยู่ที่ตรงไหน จะเข้าถึงได้ด้วยวิธีการใด จึงแสวงหากันวุ่นวาย และเต็มไปด้วยความทุกข์ทรมาน แต่ถ้าทุกคนในโลกได้รู้จักที่พึ่งที่ระลึก
บวชช่วยชาติ แก้ว่างงาน รัฐจับมือมหาเถร
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๗ ( เสด็จออกบรรพชา )
เมื่อพระโอรสพระธิดาทอดพระเนตรเห็นพฤกษชาติเผล็ดผลในป่าใหญ่ อยากเสวยผลไม้เหล่านั้น ต้นไม้เหล่านั้นก็น้อมกิ่งลงมาให้พระโอรสพระธิดาสามารถเด็ดเสวยได้เองอย่างง่ายด้วย พระนางมัทรีราชเทวีทอดพระเนตรสิ่งอัศจรรย์นี้ รู้ทันทีว่า เป็นเพราะอำนาจแห่งทานบารมีของพระเวสสันดร
แค้นใจภรรยามีชู้
คำถาม : "หลวงพี่ครับเราจะทำอย่างไรเมื่อภรรยามีคนอื่น ตอนนี้ผมคิดไว้สามข้อ หนึ่ง ฆ่าตัวตาย สองฆ่าภรรยา สาม ฆ่าชู้ ทุกวันนี้ใจผมไม่สงบเลย จะกระวนกระวายอยู่ตลอด พอจะมีวิธีแก้ปัญหาบ้างมั้ยครับ"
มงคลที่ ๒๖ ฟังธรรมตลอดกาล - ฟังธรรมดับทุกข์
ในสมัยพุทธกาล ท่าน สุปปพุทธกุฏฐิ เป็นคนยากจน ต้องเที่ยวขอทานขออาหารเขากินทุกวัน ทั้งยังป่วยเป็นโรคเรื้อนอีกด้วย วันหนึ่งมหาชนได้มาประชุมรวมกัน เพื่อฟังธรรมจากพระบรมศาสดา สุปปพุทธกุฏฐิเห็นมหาชนมารวมกันจำนวนมาก จึงคิดว่า คงจะมีการแจกอาหารเป็นแน่ จึงไปที่นั่นเพื่อจะได้รับแจกอาหารบ้าง แล้ววันนั้นบุญเก่าที่ท่านเคยทำมาในอดีต ก็มาส่งผลพอดี
เพื่อนพ้องพี่น้องกัน
ท่านทั้งหลายจงเห็นการทะเลาะวิวาทกันว่า เป็นเหตุแห่งภัย และเห็นการไม่วิวาทกันว่า เป็นความเกษมสำราญแล้ว พึงเป็นผู้พร้อมเพรียง มีความประนีประนอมกันเถิด นี้เป็นพระพุทธานุสาสนี
ตาบอด...กลับมาเห็นได้
พอกลับไปบ้าน งานนี้เรียกได้ว่า อึ้ง...ทึ่งไปตามๆกัน ชาวบ้านแถวนั้นงงกันเป็นไก่ตาแตก ชวนกันมาดู มาหา ด้วยความสงสัยว่า ทำไม ทำอย่างไร แม่น้อยถึงมองเห็นได้เหมือนเดิม แม่น้อยก็ตอบไปว่า “ไปทำบุญที่วัดพระธรรมกายมา หลวงปู่...ท่านช่วยรักษาให้” ทำให้ชาวบ้านแถวนั้นเกิดความอัศจรรย์ใจ และรู้สึกศรัทธาตามไปด้วย
วัดป่ากลางทุ่ง
วัดกลางทุ่งและวัดป่าใต้ได้รวมเป็นวัดป่ากลางทุ่ง รวมพื้นที่ทั้งหมดราว ๓๒ ไร่ ๓ งาน ๖๐ ตารางวา จากรูปแบบศิลปะกรรมอุโบสถเก่าสัณนิษฐานว่าสร้างในสมัยรัชกาลที่ ๓ ราวปีพุทธศักราช ๒๓๘๕
ประเภทของสมาธิ