อานิสงส์ร่วมสร้างมหาพุทธเจดีย์
คนไม่มีบุญจะมีศิลปะหรือไม่มีศิลปะก็ตาม จะสามารถรวบรวมทรัพย์ไว้เป็นจำนวนมาก แต่คนมีบุญเท่านั้นย่อมได้ใช้สอยทรัพย์เหล่านั้น
อานิสงส์บุญจากการสร้างองค์พระและพุทธเจดีย์ด้วยทรายหุ้มปิดด้วยแผ่นทอง
ในบรรดามนุษย์หกพันเจ็ดร้อยกว่าล้านคนทั่วโลกจะมีสักกี่คนที่มีโอกาสรู้ว่าสิ่งที่อยู่เบื้องหลังความสุขของตนเองคือสิ่งที่เรียกสั้นๆว่าบุญ บุญคือพลังงานชนิดหนึ่งที่มีความบริสุทธิ์และมีอานุภาพมาก
พระพุทธดอร์เดนมาองค์พระใหญ่ที่สุดในโลก
กำหนดการวันวิสาขบูชา (Vesak Day ) Update!
วันวิสาขบูชาเป็นวันที่พวกเราเหล่าพุทธบริษัทควรจะได้ได้ชักชวนชาวโลกให้มาเจริญพุทธานุสติ ระลึกถึงหนทางการสร้างบารมีของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตั้งแต่วันแรกจนวันสุดท้าย หันมาศึกษาหลักธรรมที่ทรงประทานไว้ เป็นดังประทีปธรรมนำทางชีวิตที่ถูกต้องไปสู่สวรรค์นิพพาน เราทั้งหลายจะได้มาร่วมกันนั่งสมาธิเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายซึ่งเป็นกายแห่งการตรัสรู้ธรรม ทุกท่านควรจะหาโอกาสได้ไปจุดประทีป เดินเวียนประทักษิณรอบพุทธเจดีย์ที่ตนเคารพนับถือเพื่อน้อมถวายเป็นพุทธบูชา ให้ภายนอกได้สว่างด้วยแสงเทียน ภายในสว่างด้วยแสงธรรม
วัดพระธรรมกายโทชิหงิ จัดพิธีบูชาข้าวพระ
วัดพระธรรมกายโทชิหงิ ประเทศญี่ปุ่น ได้จัดงานบุญพิธีบูชาข้าวพระ และพิธีหล่อพระประธาน
วันวิสาขบูชา 2568 ประวัติวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา Visakha Puja วันวิสาขบูชาวันสำคัญสากลโลก วันพุธที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2568 วิสาขบูชา ย่อมาจากคำว่า “วิสาขปุรณมีบูชา” แปลว่า การบูชาพระในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ (คือเดือน 6) ประวัติ ความเป็นมาของวันวิสาขบูชา
คารวะ ๖
ศัพท์ว่า "คารวะ" แปลกันว่า ความเคารพ หมายถึงความเอื้อเฟื้อ มักจะพูดติดต่อกันว่า ความเคารพเอื้อเฟื้อและมักจะใช้คู่กับคำว่า "นับถือบูชา" โดยความหมาย ก็คือ การปฏิบัติดีปฏิบัติชอบยกย่องเชิดชู ไม่ลบหลู่ดูหมิ่น ในบุคคลนั้นๆ และในธรรมนั้นๆ
อานิสงส์บูชาพระรัตนตรัยด้วยรัตนชาติ
มนุษย์ส่วนใหญ่ยังไม่รู้ว่าพระรัตนตรัย คืออะไร อยู่ตรงไหน และจะเข้าถึงได้อย่างไร เมื่อไม่รู้จึงแสวงหาสิ่งนอกตัวเรื่อยไป แต่พวกเราทั้งหลายนับว่าเป็นผู้มีบุญลาภอันประเสริฐเกิดมาแล้วได้รู้ว่า พระรัตนตรัย คือ...
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
พระพุทธรูปปางสมาธิ รวมรูปพระพุทธรูปปางสมาธิยุคสมัยต่างๆ
พระพุทธรูปปางสมาธิ รวมรูปพระพุทธรูปปางสมาธิยุคสมัยต่างๆ พระพุทธรูปปางสมาธิหรือปางตรัสรู้ พระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถประทับ (นั่ง) สมาธิ พระหัตถ์ทั้งสองวางหงายซ้อนกันบนเพลา (ตัก) พระหัตถ์ขวาทับพระหัตถ์ซ้าย พระชงฆ์ (แข้ง) ขวาทับพระชงฆ์ซ้าย