เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(1)
พระเจ้าเนมิราช พระราชาของชนชาววิเทหรัฐ ผู้ทรงสงเคราะห์ชาวเมืองมิถิลา ครั้นตรัสพระคาถานี้ว่า ผมหงอกงอกขึ้นบนศีรษะของเราแล้ว ย่อมนำความหนุ่มไป เทวทูตปรากฏแล้ว สมัยนี้เป็นกาลสมควรที่เราจะบวช ดังนี้แล้ว ทรงบริจาคทานเป็นอันมาก ทรงเข้าถึงความเป็นผู้สำรวมในศีล
มงคลที่ ๓ บูชาบุคคลที่ควรบูชา - พุทธบูชาพาพ้นทุกข์
เมื่อใคร่ครวญสักครู่หนึ่ง ก็คิดได้ว่า การบูชาด้วยของหอม เป็นสิ่งที่ทุกคนกระทำกันดีอยู่แล้ว เราจะต้องทำให้ประณีตและแตกต่างออกไป จะเห็นว่านักสร้างบารมีในสมัยก่อน ในใจของเขา คิดเอาแต่บุญพิเศษ แสวงหาวิธีการที่จะเพิ่มเติมบุญให้กับตนเอง ท่านจึงรวบรวมของหอมจำนวนมาก มีจันทน์ กำยาน การบูร และกฤษณา เป็นต้น สร้างเป็นสถูปของหอมถวายพระบรมศาสดา
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - บุญหาช่องคอยส่งผล
็เพื่อทำให้ทุกท่านได้เชื่อมั่นและมีกำลังใจในเรื่องการสร้างบารมี เพื่อให้มั่นใจว่า สิ่งที่ดีงามเหล่านี้ บัณฑิตนักปราชญ์ในกาลก่อนล้วนทำมาแล้ว และได้รับผลของการกระทำนั้นอย่างเกินควรเกินคาด ดังนั้นเราทุกคนควรดำเนินตามรอยท่านผู้มีบุญในกาลก่อน ดังเช่นพระเถระรูปนี้
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๑๒ ( กัณหาชาลีถูกทรมาน )
พระโพธิสัตว์ทุกพระองค์ไม่ทรงบริจาคมหาบริจาค ๕ ประการ คือ บริจาคทรัพย์ บริจาคอวัยวะ บริจาคชีวิต บริจาคบุตร บริจาคภรรยา หาเป็นพระพุทธเจ้าได้ไม่ ก็ตัวเราก็เข้าอยู่ในจำพวกพระโพธิสัตว์เหล่านั้น แม้เราไม่บริจาคบุตร และชายา ก็ไม่อาจจะเป็นพระพุทธเจ้าได้เช่นกัน
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - เปลี่ยนวิถีชีวิตด้วยบุญบารมี
เรื่องมีอยู่ว่า พญาปฐวินทรนาคราช ผู้ได้เสวยสุขอยู่ในนาคพิภพ สมบูรณ์ด้วยสมบัติอันโอฬารล้วนด้วยรัตนชาติ พรั่งพร้อมด้วยเบญจกามคุณทั้งห้า ครั้นได้เสวยสุขสมบัติอันซ้ำซากจำเจอย่างนั้นนานวันเข้า เกิดความเบื่อหน่ายในนาคพิภพ อันเป็นปกติของหมู่สัตว์ที่ต้องเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ จึงดำริอยู่ในใจว่า"แม้เราจะสมบูรณ์พรั่งพร้อมด้วยรัตนสมบัติมากมาย แต่ก็ไม่ได้ประเสริฐเท่าใด เพราะยังไม่พ้นจากกำเนิดของสัตว์ที่ต้องเลื้อยคลานไปได้"
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - อย่าอาฆาตกันเลย
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อย่าว่าแต่พระเจ้าสุปปพุทธะ จะขึ้นไปอยู่บนปราสาทชั้น ๗ และมีทหารกำยำล่ำสันเฝ้ารักษาประตูอยู่เช่นนี้เลย แม้จะมีฤทธิ์เหาะไปได้ในอากาศ หรือจะทรงหนีไปทางมหาสมุทร หรือจะทรงหนีเข้าไปในซอกเขา ก็จะต้องถูกแผ่นดินสูบที่เชิงบันไดของปราสาทนั่นแหละ เพราะถ้อยคำของตถาคตไม่เป็นสอง เรากล่าวอย่างไร ย่อมเป็นอย่างนั้น
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (3)
พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ปราชญ์กล่าวว่าเป็นยอดแห่งสัตว์ทั้งปวงนั้น สัตว์เหล่าใดเลื่อมใสในพระพุทธเจ้า สัตว์เหล่านั้นชื่อว่าเลื่อมใสในวัตถุอันเลิศ เมื่อเลื่อมใสในวัตถุอันเลิศ ก็ย่อมได้ผลอันเลิศ
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๑๔ ( พระเวสสันดรขอพร ๘ ประการ )
ข้าแต่ท้าวสักกะ เมื่อหม่อมฉันบริจาคทาน ทรัพย์สมบัติ พึงไม่หมดสิ้นไป บริจาคแล้วไม่พึงเดือดร้อนภายหลัง เมื่อกำลังบริจาค พึงทำจิตให้ผ่องใส เมื่อหม่อมฉันพ้นจากอัตภาพนี้ พึงไปสู่สวรรค์ ถึงชั้นดุสิตอันวิเศษ จุติจากชั้นดุสิตมาเป็นมนุษย์ พึงเป็นผู้ไม่เกิดอีก
มงคลที่ ๙ มีวินัย - ทางมาแห่งสมบัติ
เมื่อมีเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น บุญบารมีและศีลที่เรารักษามาดีแล้วเท่านั้น ที่คอยช่วยให้วิกฤติการณ์ ต่างๆ ผ่านพ้นไปได้ด้วยดี แม้การอธิษฐานจิตปรารถนาสิ่งใดให้สัมฤทธิผล ต้องอาศัยศีลที่บริสุทธิ์ของเรามาเป็นเครื่องรองรับ นักปราชญ์บัณฑิตท่านจึงรักษาศีลยิ่งชีวิต
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (2)
ผู้ใดมีความเชื่อในตถาคต ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว มีศีลอันงามที่พระอริยะสรรเสริญ มีความเลื่อมใสในพระสงฆ์ และมีความเห็นตรง บัณฑิตทั้งหลายกล่าวผู้นั้นว่า ไม่เป็นคนขัดสน ชีวิตของผู้นั้นไม่เปล่าประโยชน์ เพราะเหตุนั้น ผู้มีปัญญาเมื่อนึกถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย พึงประกอบศรัทธา ศีล ปสาทะ และความเห็นธรรมเนืองๆ เถิด