พระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร)
ประวัติ พระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร เจริญพานิช ป.ธ. ๔) เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร
กัจฉปชาดก ชาดกว่าด้วยลิงสัปดน
เป็นเรื่องของลิงทุศีลซุกซนตัวหนึ่ง ที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น วันหนึ่งมันได้แกล้งเจ้าเต่า โดยได้สอดองคชาตเข้าในปากของเต่าซึ่งหลับอยู่ ลำดับนั้น เต่าตื่นขึ้นจึงงับองคชาตของลิงนั้นไว้ เหมือนกับใส่ไว้ในสมุคฉะนั้น เวทนาอย่างแรงเกิดขึ้นแก่ลิงนั้น มันไม่สามารถจะอดกลั้นเวทนาได้
ผู้ขัดขวางการสร้างบารมี
ชนเหล่าใด จักสำรวมจิต ที่ท่องไปในที่ไกลๆ เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีสรีระ มีถ้ำเป็นที่อาศัย ชนเหล่านั้น จะพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร
ปกบ้านครองเมือง ของประเทศกัมพูชา
ปกบ้านครองเมือง กัมพูชาเคยตกเป็นอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศส ก่อนได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2496 แต่หลังจากได้รับเอกราชมาแล้วก็เกิดความแตกแยกภายในประเทศระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์กับฝ่ายประชาธิปไตยอยู่นานนับสิบปีกว่าความขัดแย้งจะยุติลง
ผลแห่งการยึดมั่นในพระรัตนตรัย
ภิกษุทั้งหลาย เมื่อบุคคลระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์อยู่อย่างนี้ ความกลัว ความครั่นคร้าม ความขนพองสยองเกล้า จักไม่มี
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ยอดกัลยาณมิตร)
ผู้ใดถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ว่าเป็นสรณะแล้ว เห็นอริยสัจ ๔ ด้วยปัญญาอันชอบ คือ ทุกข์ และตัณหาอันเป็นแดนเกิดขึ้นแห่งทุกข์ ความก้าวล่วงทุกข์ และมรรคมีองค์ ๘ อันไปจากข้าศึก ให้ถึงพระนิพพานเป็นที่เข้าไประงับทุกข์ นี้แลเป็นสรณะอันเกษม นี้เป็นสรณะอันอุดม บุคคลอาศัยสิ่งนี้แล้ว ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
รูปนันทาเถรี
สรีระอันกรรมทำให้เป็นนครแห่งกระดูกทั้งหลาย ฉาบด้วยเนื้อและโลหิต เป็นที่ตั้งลงแห่งชรา มรณะ มานะ และการลบหลู่คุณท่าน
ปรากฏการณ์สำแดงอานุภาพของพระบรมธาตุ (2)
สมัยรัชกาลที่ 4 พระองค์ทรงอธิษฐานต่อหน้าองค์พระปฐมเจดีย์ว่า ถ้าในพระมหาเจดีย์นี้มีพระบรมธาตุซึ่งท่านแต่โบราณบรรจุไว้ในภายใน ขอเทพยาผู้ใหญ่ทรงรักษา พระมหาเจดีย์องค์นี้จงมีเมตตากรุณาแบ่งพระบรมธาตุให้สักสององค์ข้าพเจ้าจะนำไปบรรจุไว้ในพระพุทธรูปหล่อใหม่นามว่าพระสัมมาสัมพุทธพรรณีองค์หนึ่งและไว้ในพระเจดีย์ทองเหลืองหุ้มเงินอีกองค์หนึ่ง
เขมาเถรี อัครสาวิกาเบื้องขวา
เราเรียกผู้ไม่เยื่อใยในกามทั้งหลายเหล่านั้นว่า เป็นผู้สงบ เพราะไม่มีกิเลสเป็นเครื่องร้อยรัด จึงข้ามพ้นตัณหาไปได้
สามเณรนิโครธ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บรรพชิตผู้มีศีลทั้งหลาย เข้าไปหาสกุลใด มนุษย์ในสกุลนั้นย่อมประสบบุญเป็นอันมาก โดยฐานะ ๕ ประการ คือ สมัยใด บรรพชิตผู้มีศีลเข้าไปหาสกุล จิตของพวกมนุษย์ ย่อมเลื่อมใส สมัยนั้น สกุลนั้นชื่อว่าปฏิบัติปฏิปทาที่ยังสัตว์ ให้เป็นไปพร้อมเพื่อสวรรค์