สมิทธิชาดก ชาดกว่าด้วยการไม่รู้เวลาตาย
ท่านภิกษุท่านยังเด็กเยาว์วัยหนุ่มแน่น มีผมดำ ประกอบด้วยความหนุ่ม ทั้งยังเจริญ มีรูปงามน่าดู น่าเลื่อมใส ท่านเป็นเช่นนี้ ไม่บริโภคกาม ประโยชน์อะไรด้วยการบรรพชา จงบริโคกามเสียก่อนเถิด ภายหลังจึงค่อยบวชบำเพ็ญสมณะธรรม ” “ แน่ะ เทพธิดา เราไม่รู้ความตายของเราว่า เราจักตายเมื่ออยู่ในวันโน้น เรากำหนดเวลาไม่ได้ เพราะฉะนั้น เราจักบำเพ็ญสมณะธรรม ในตอนยังเป็นหนุ่ม แล้วจักทำที่สุดแห่งทุกข์ ” “ ถ้าอย่างนั้น ก็แล้วแต่ท่านเถิด ข้าขอลาก่อน ”
ทุพภิยมักกฏชาดก ชาดกว่าด้วยการคบคนชั่ว
ท่านพราหมณ์ ท่านได้ยินหรือได้เห็นที่ไหน ว่าลิงรู้คุณคน มีมารยาท มีศีล มีอยู่ เราจะถ่ายคูถรดศีรษะท่านเดี๋ยวนี้แหละ แล้วจึงจะไป นี่เป็นธรรมดา นี่เป็นสภาพโดยกำเนิดของพวกเรา ผู้ชื่อว่าเป็นลิง
จุลลโพธิชาดก ชาดกว่าด้วยความโกรธ
ดูก่อนภิกษุ ขึ้นชื่อว่าความโกรธ เธอควรจะห้ามเสีย อันความโกรธเห็นปานนี้ ที่จะทำประโยชน์ให้ในโลกนี้และโลกหน้าเป็นไม่มี เธอบวชในศาสนาของพระพุทธเจ้าที่ไม่โกรธแล้ว เหตุไรจึงยังโกรธเล่า
ครหิตชาดก ชาดกว่าด้วยลิงติเตียนมนุษย์
วานรทั้งฝูงเมื่อได้รู้ถึงพฤติกรรมของมนุษย์เช่นนั้นก็พากันติเตียน บ้างก็ชำระล้างหูของตน แล้วร่วมใจกันย้ายถิ่นฐานให้ไกลจากมนุษย์ เข้าไปในป่าลึกสุดๆ ของหิมพานต์
ฆตบัณฑิตชาดก ชาดกว่าด้วยความดับความโศก
ณ บ้านหลังหนึ่งในเชตวัน สาวัตถี กุฎุมพีเจ้าของบ้านได้เกิดความเศร้าโศกเสียใจ เป็นอันมากเนื่องจากบุตรชายอันเป็นที่รักของเขาได้ตายจากไป ความเศร้าเสียใจของชายผู้นี้กินเวลาเนิ่นนาน วันเดือนปีจะผ่านพ้นไปเพียงใด เขาก็ยังไม่สามารถทำใจได้
กุลาวกชาดก ชาดกว่าด้วยการเสียสละ
พระศาสดาครั้นทรงแสดงพระธรรมเทศนาแล้ว ตรัสกับภิกษุว่า ดูก่อนภิกษุ บัณฑิตทั้งหลายในกาลก่อนครองราชย์สมบัติในเทวโลก ถึงจะสละชีวิตของตนก็ไม่กระทำปานาติบาตรด้วยประการดังนี้ เธอชื่อว่าบวชในศาสนาอันเป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เห็นปานนี้เหตุใดจักดื่มน้ำมีตัวสัตว์มิได้กรองเล่า
ทำไม...ถึงสร้างพระมหาธรรมกายเจดีย์รูปทรงแบบนี้ ? ผิดไหม ? ใช่รูปจานบินไหม ?
แล้วพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเรื่องการออกแบบสร้างสถูปหรือเจดีย์ไว้อย่างไร ?
อานิสงส์บูชาสิ่งแทนพระพุทธองค์
“ดูกรอานนท์ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งเหล่านี้ เป็นสถานที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธา สังเวชนียสถาน ๔ แห่ง คือ.....
ประวัติความเป็นมาของวันมหาปวารณา
กำเนิดวันมหาปวารณา ประวัติความเป็นมาของการทำปวารณาในวันออกพรรษาเกิดขึ้นเมื่อไร ต้องปฏิบัติอย่างไรบ้าง
"ธัมมัสสวนมัย" ฟังธรรมเป็นนิจจิตแจ่มใส
“กาเลน ธมฺมสฺสวนํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ การฟังธรรมตามกาลเป็นมงคลอย่างยิ่ง”