อนุสรณ์สถาน 7 แห่ง เส้นทางมหาปูชนียาจารย์
อนุสรณ์สถาน 7 แห่ง เส้นทางมหาปูชนียาจารย์ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
ปรากฏการณ์น้ำท่วม (โลก)
ทำไมโลกนี้มีหลายภาษา-ที่นี่มีคำตอบ
ในยุคของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ก่อนๆ โลกไม่มีการแบ่งแยกประเทศและพูดภาษาเดียวกันทั่วโลก ภาษาที่แตกต่างกันทำให้สื่อสารกันไม่รู้เรื่องเกิดขึ้นได้อย่างไร จะมีวิธีการอย่างไรที่จะทำให้คนทั้งโลกกลับมาพูดภาษาเดียวกันอีกครั้ง
วธ.ขับเคลื่อน โครงการเปิดวัดวันอาทิตย์
กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับ สสส. เดินหน้าขับเคลื่อนโครงการเปิดวัดวันอาทิตย์ โดยตั้งเป้าภายในสิ้นปีมีวัดเข้าร่วมโครงการ 1,000 แห่ง
จะเกิดอะไรขึ้นหากโลกนี้ไม่มีมนุษย์
มนุษย์คนเรานั้นล้วนเป็นเผ่าพันธุ์ที่ดำรงอยู่ที่มีอิทธิพลต่อโลกใบนี้สูงมากที่สุด อารยธรรมของมนุษย์เรานั้นครองโลกเพียงแค่ 1 หมื่นปีเท่านั้น ...
WSYC
หลังจากที่เราได้เข้าโครงการ The Middle Way Meditation Retreat ความสุขภายในที่เราได้รับจากสมาธิ ทำให้เราหลอมรวมกันเป็นหนึ่ง เมื่อถึงเวลาประชุมเรื่องของแนวทางการสร้างสันติภาพให้เกิดขึ้นกับโลก ซึ่งเราประชุมกันที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คำตอบที่เราเห็นตรงกันคือ สันติภาพโลกต้องเริ่มต้นจากสันติสุขภายใน ด้วยการทำสมาธิ
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย 5 มกราคม พ.ศ.2555
ธุดงค์ธรรมชัย เส้นทางมหาปูชนียาจารย์ ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย 6 จังหวัด 365 กม. รับปี 2555 ปัดเป่าผองภัย สร้างบุญใหญ่ให้แผ่นดิน ประจำวันที่ 5 มกราคม พ.ศ.2555
ขอเรียนเชิญร่วมพิธีตักบาตรฉลองพระใหม่ วันอาทิตย์ที่ 24 ก.ค. 2559
ขอเรียนเชิญร่วมพิธีตักบาตรฉลองพระใหม่ วันอาทิตย์ที่ 24 ก.ค. 2559 เวลา 06.30 น. ณ จุดบูชาพระมหาธรรมกายเจดีย์ วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
อิสรชน แห่ง คาบสมุทรอินโดจีน
ชาวเวียดนาม มักไม่ปล่อยเวลาให้ผ่านไปเรื่อย ๆ พวกเขาจะหาอะไรทำตลอดเวลา ชีวิตที่ลำบาก ยากจนขนาดกินมันต่างข้าวในสมัยสงคราม หล่อหลอมให้ต้องอดทนและทำงานหนัก...แต่ถึงกระนั้น พวกเขาก็ไม่เคยมองข้ามการศึกษา นักเรียนทุกคนเรียนฟรี โดยภาครัฐ จะบังคับให้นักเรียนในชนบทต้องเรียนจนจบ ม.ต้น ส่วนนักเรียนในเมืองต้องจบ ม.ปลาย มีมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทั่วประเทศถึง 200แห่ง
ประวัติสุนทรภู่ ความเป็นมาของวันสุนทรภู่ กวีเอกของโลก
สุนทรภู่ หรือ พระสุนทรโวหาร มีนามเดิมว่า ภู่ เกิดในวังหลัง ปากคลองบางกอกน้อย) เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.2329 ท่านเป็นกวีเอกคนหนึ่งของกรุงรัตนโกสินทร์