วัดฝอกวงซาน จัดพิธีสดุดีพระคุณพระธรรมาจารย์ซิงหวินต้าซือ
วัดฝอกวงซาน ได้จัดพิธีสดุดีพระคุณ "พระธรรมาจารย์ซิงหวินต้าซือ" ผู้สืบทอดนิกายหลินจี้ลำดับที่ 48 เจ้าอาวาสผู้สถาปนาวัดฝอกวงซาน
ผู้นำองค์กร-ประมุขสงฆ์ 3 นิกาย กว่า 10 ประเทศ และชาวพุทธ ร่วมงานวิสาขบูชานานาชาติ ณ วัดบาหว่าง
ผู้นำองค์กรรวมทั้งประมุขสงฆ์ 3 นิกาย กว่า 10 ประเทศ และชาวพุทธหลายหมื่นคน ร่วมงานวันวิสาขบูชานานาชาติ ณ วัดบาหว่าง (Bavang Pagoda) จังหวัดกวางนิญ ประเทศเวียดนาม
พิธีมอบประกาศเกียรติคุณ และพิธีถวายสังฆทาน เชื่อมสัมพันธ์ไทย-เกาหลี
พิธีมอบประกาศเกียรติคุณ และพิธีถวายสังฆทาน คณะสงฆ์ 2 นิกาย เชื่อมสัมพันธ์ไทย-เกาหลี
พุทธศาสนาในสายตาชาวโลก
การที่เราเกิดมาอยู่ในพระพุทธศาสนาถือเป็นเรื่องที่โชคดี ทำให้เรารู้เป้าหมายในชีวิต และรู้ว่าเราเกิดมาทำไมเมื่อเกิดปัญหาก็สามารถนำหลักธรรมใช้แก้ปัญหาในชีวิตได้
งานวิสาขบูชา ครั้งที่ 11 ณ ประเทศมองโกเลีย
คณะสงฆ์ไทยร่วมกับคณะสงฆ์มองโกเลีย และองค์กรภาคี ร่วมกันจัดงานวันวิสาขบูชา ครั้งที่ 11 เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา และเชื่อมสัมพันธ์พุทธศาสนา 2 นิกาย
How do people from different branches of Buddhism regard each other?
Would it matter which form of Buddhism a person follows?
How should I answer the question,"why we were born", so that person who is unfamiliar with Buddhist’s principles can understand it easily?
Someone who is unfamiliar with Buddhist’s principles asked me the reason for why we were born. How should I answer this question so that he can understand it easily?
องค์กรยุวพุทธสงฆ์โลก
องค์กรยุวพุทธสงฆ์โลก ก่อตั้งโดย พระอนุรุทธะเถระ เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2547 ที่เมืองกาฐมานฑุ ประเทศเนปาล มีพระภิกษุสงฆ์ที่เป็นตัวแทนจากประเทศต่างๆ จัดกิจกรรมร่วมกันรวม 3นิกาย คือ นิกายเถรวาท มหายาน และวัชรยาน โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ การสร้างเครือข่ายกลุ่มผู้นำขององค์กรยุวพุทธสงฆ์โลก เพื่อสร้างความสามัคคี เป็นหนึ่งเดียวกันในสถาบันสงฆ์และสังคมโลก โดยปราศจากการแบ่งแยกระหว่างนิกาย
ชาวนิวยอร์กผิวขาวกลายมาเป็นชาวพุทธได้อย่างไร
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว