ธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 3 วันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2557
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 3 วันที่ 26 มกราคม พ.ศ.2557 จากที่ดินตลิ่งชันถึงกรมชลประทานรวมระยะทาง 22.3 กิโลเมตร
ธุดงค์ธรรมชัย เส้นทางมหาปูชนียาจารย์พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ปีที่ 2
ในวันที่ 2-27 มกราคม พ.ศ.2556 พระสงฆ์ทั่วประเทศ จำนวน 1,128 รูป ขอเรียนเชิญทุกท่านร่วมต้อนรับพระธุดงค์ สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย ถวายเป็นพุทธบูชา ประจำปี 2556 ฟื้นฟูจิตใจ สร้างบุญใหญ่ให้แผ่นดิน
ธุดงค์ คือ อะไร
ธุดงค์ คืออะไร หลังออกพรรษาก็ถึงคราที่พระภิกษุสงฆ์จะเที่ยวจาริกไปในที่ต่างๆ เพื่อหาสถานที่อันสัปปายะ เพื่อเจริญสมณธรรม รวมทั้งเผยแผ่ธรรม ซึ่งเรามักจะได้ยินว่าออก ‘ธุดงค์’
ธุดงค์ กับ ดอกไม้
การที่ “ธุดงค์” หรือ “พระธุดงค์” มาในเมือง มีสาธุชนมาต้อนรับและโปรยดอกไม้ ก็เพื่อสร้างความสามัคคี สร้างกิจกรรมร่วมของพุทธบริษัท 4 โยมจะได้มีส่วนแห่งบุญในการปฏิบัติธรรมของพระธุดงค์และอยู่ในหลักคารวะ 6 อันพระพุทธองค์สรรเสริญ
ธุดงค์ เป็นวัตร แต่ไม่เป็นศีล
“ธุดงค์” เป็นวัตรไม่ใช่ศีล เป็นข้อแนะนำให้ปฏิบัติเพื่อฝึกตัว ไม่ใช่ข้อบังคับว่าต้องทำ แบ่งเป็น 3 หมวด คือ จีวร อาหาร และ สถานที่
คำว่า ธรรมะ
ธรรมะ หมายถึง คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ปฏิบัติเพื่อจะให้เข้าถึงธรรมะภายใน คือ ดวงธรรมใส ๆ ซึ่งจะนำไปสู่พระธรรมกายภายใน ซึ่งเป็นที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริงของทุกคน
ธุดงค์ธรรมชัยรุ่นแสนรูป ตอนที่ 1
ธุดงค์ เป็นวัตรปฏิบัติที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตไว้ เป็นอุบายวิธีกำจัดขัดเกลากิเลส ทำให้เกิดความมักน้อยสันโดษยิ่งขึ้น ไม่สะสม เพื่อให้เบาสบาย ไปมาได้สะดวกด้วยไม่มีภาระมาก เหมือนนกที่มีเพียงปีกก็บินไปฉะนั้น
อานิสงส์การถือธุดงควัตร (ภาคพิเศษ) ตอนที่ 1
“ ธุดงค์ ” แปลว่า...องค์คุณเครื่องกำจัดกิเลส หมายถึง ข้อวัตรปฏิบัติที่มีความเข้มงวดเป็นพิเศษ ที่จะช่วยกำจัดกิเลสให้หลุดร่อนออกไปจากใจได้อย่างดีเยี่ยม
ฆราวาสธรรม
บุคคลใดผู้อยู่ครองเรือนประกอบด้วยศรัทธา มีธรรม ๔ ประการนี้ คือ สัจจะ ธรรมะ ธิติ จาคะ บุคคลนั้นแล ละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไม่เศร้าโศก
ธุดงค์ธรรมชัยกับการปฏิบัติธุดงควัตร
ธุดงควัตร เป็นพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เนื่องจาก ธุดงค์ คือ บทฝึกตนในการ กำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนาแบบเฉียบพลัน ที่เรียกว่า ธุตังคะ มีทั้งหมด 13 ข้อ โดยผู้ปฏิบัติจะได้ฝึกความ อดทน และใช้ความเพียรสูง กว่าปกติ ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติให้การถือธุดงค์เป็นข้อบังคับ คือ ใครจะถือก็ได้ หรือไม่ถือก็ได้ แต่พระองค์ทรงอนุญาตให้ทำได้ เพราะเป็นข้อปฏิบัติที่เกื้อกูลและสนับสนุนให้ บรรลุธรรมง่ายขึ้น