นิ่งหลับตา ดวงรัตนา (แก้ว) สว่างเลย
ผลการปฏิบัติธรรมของอุบาสิกาแก้วหน่ออ่อน รุ่นหนึ่งล้านคน แม้จะมาจากต่างที่ แม้จะต่างวัย แต่สิ่งที่ได้รับล้วนเหมือนกัน นั่นคือ...ความสุข
การสื่อสารไร้สายสมัยพุทธกาล ตอนที่ 1
พวกเราเคยคิดไหมเอ่ยว่า ในครั้งพุทธกาลเนี่ย พระพุทธศาสาแผ่ขยายไปกว้างขวาง คิดเป็นพื้นที่ก็ใหญ่กว่าประเทศไทยปัจจุบันเสียอีก คณะสงฆ์ก็มีอยู่มากมาย เป็นแสน เป็นล้านองค์ กระจายอยู่เต็มแผ่นดิน แล้วในยุคนั้น โทรศัพท์ก็ไม่มี มือถือก็ไม่มี วิทยุก็ไม่มี โทรทัศน์ก็ไม่มี อินเตอร์เน็ตก็ไม่มี แฟ๊กซ์ก็ไม่มี แล้วเวลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์เทศน์สอนคำสอนขึ้นมาแต่ละข้อๆ เนี่ย แต่ละเรื่อง คณะสงฆ์ที่กระจายเต็มแผ่นดินจะรู้ได้อย่างไร เพราะในยุคนั้นยังไม่มีพระไตรปิฎกเลยใช่ไหม พระไตรปิฎกบังเกิดขึ้นหลังจากพุทธกาล หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว พระอรหันต์ 500 รูป จึงสังคายนา ประมวลคำสอนของพระองค์ทั้งหมดมาบรรจุเป็นพระไตรปิฎก
เธอชอบกินเด็กแรกเกิด
ในประเทศเนปาลมีตำนานเล่าว่า “เชอรี ฮาราติมา” เธอเกิดในสมัยพุทธกาลและชอบกินเด็กแรกเกิด และเธอเองก็มีลูกอยู่ 5 คน
กฐิน ผ้าป่า และอานิสงส์
กฐินและผ้าป่ามีความเหมือนหรือต่างกันอย่างไร? กฐินและผ้าป่ามีพิธีกรรมและสิ่งของที่ถวายเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไรในแต่ละยุคสมัย? การทอดกฐินมีประวัติความเป็นมาอย่างไร?
ยลภาพยามอุทกเยือน ผู้สืบศาสน์ป้องบ้านเมือง
เมื่อบ้านเมืองเผชิญอุทกภัยรุนแรงเหล่าสงฆ์ผู้สืบทอดศาสนาก็ไม่ได้อยู่นิ่งเฉยออกมาปกป้องบ้านเมืองอย่างแข็งขัน
สำนักต่างประเทศ วัดพระธรรมกาย และ กอง AEC ทอดกฐินสมทบ ที่ประเทศเวียดนาม
สำนักต่างประเทศ วัดพระธรรมกาย และ กอง AEC ร่วมทอดกฐินสมทบ ที่ประเทศเวียดนาม
วัดพระธรรมกายซีแอตเติล จัดพิธีทอดกฐินสามัคคี
วัดพระธรรมกายซีแอตเติล ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดงานบุญพิธีทอดกฐินสามัคคี ประจำปีพุทธศักราช 2567
วัดพระธรรมกายไอจิ จัดพิธีทอดกฐิน
วัดพระธรรมกายไอจิ ประเทศญี่ปุ่น จัดพิธีทอดกฐินสามัคคี เพื่อปรับปรุงอาคารเป็นที่พักอาศัย และสุขพิมาน
วัดพระธรรมกายมินเนโซตา จัดพิธีบุพเปตพลีออนไลน์
วัดพระธรรมกายมินเนโซตา ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดพิธีบุพเปตพลีออนไลน์ เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แด่หมู่ญาติที่ล่วงลับไปแล้ว
วัดพระธรรมกายคอร์ซัวร์ ลุสท์สโกว จัดพิธีบูชาข้าวพระ
วัดพระธรรมกายคอร์ซัวร์ ลุสท์สโกว ประเทศเดนมาร์ก ได้จัดพิธีบูชาข้าวพระ และพิธีทอดผ้าป่าสามัคคี เพื่องานเผยแผ่พระพุทธศาสนาวิชชาธรรมกายสู่ชาวท้องถิ่น