ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 13
เรื่องราวของนายโคฬกาฬ ที่่ทั้งเีตี้ยและดำ แต่เขากลับได้ภรรยาที่่สวยงดงาม ซึ่งต่างกันราวฟ้ากับดิน ด้วยความพยายามยอมมอบกายถวายตัวให้กับบิดามารดาของนาง สุดแต่เขาจะใช้สอย งานหนักก็เอางานเบาก็สู้ ทำเต็มที่เต็มหัวใจ ไม่มีบ่ายเบี่ยงหรือเกี่ยงงาน
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 14
เมื่อนายโคฬกาฬนึกถึงภรรยาสุดที่รักที่กำลังถูกชิงตัวไป จึงรีบวิ่งลงไปในน้ำไปได้หน่อยหนึ่งก็กลับขึ้นมาอีกเพราะความกลัว ครั้นรวบรวมความกล้าได้อีกครั้ง ก็รีบวิ่งลงไปในแม่น้ำอีกหนด้วยความโกรธ กระโจนลงไปด้วยปลงใจว่าจะเป็นหรือตายก็ช่างเถิด ขอเพียงให้ได้ภรรยาคืนมา เหตุการณ์จะเป็นอย่างไรต่อนั้น...
พบคู่รักอมตะตา-ยายชาว จ.เลย อายุร่วม 100 ปี
ทานอาหารแบบไหนถึงตัวสูงใหญ่เหมือนคนญี่ปุ่น คลิ๊ก
ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด...ใช้เวลา...ศึกษาเรื่องอาหารร้อยๆ พันๆ ปี ว่า หัวอะไรกินได้ หรือ กิน
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 120
การบำรุงขวัญชาวเมืองของมโหสถบัณฑิต สำเร็จผลอย่างงดงาม ความหวาดหวั่นครั่นคร้ามของชาวเมืองก็หมดไป ในไม่ช้าอุบายของมโหสถบัณฑิตก็เริ่มเห็นผล พระเจ้าจุลนีพรหมทัตเมื่อสดับเสียงประโคมดนตรีและอาการสรวลเสเฮฮาของชาวมิถิ ลา ที่ดูคล้ายกับว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้นเลย
ดูกันเต็มๆ ตา หิมะตกในเวียดนาม
สวรรค์ชั้นยามา
ดูก่อนสารีบุตร ในการให้ทานนั้น บุคคลไม่มีหวังสิ่งตอบแทนในทาน แต่ก็ให้ทาน ไม่มีจิตผูกพันในผลแห่งทานแล้วให้ทาน ไม่มุ่งการสั่งสมให้ทาน ไม่ได้ให้ทานด้วยความคิดว่า การให้ทานเป็นการกระทำที่ดี แต่ให้ทานด้วยความคิดว่า บิดามารดา ปู่ ย่า ตา ยาย เคยให้ เคยทำมา เราก็ไม่ควรทำให้เสียประเพณี เขาผู้นั้นให้ทานด้วยอาการอย่างนี้แล้ว เมื่อทำกาลกิริยาตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาในสวรรค์ชั้นยามา
ทำอย่างไรให้ปากสวย ปากหอม
ปากมี ลักษณะพิเศษกว่าอวัยวะอื่นๆ บนใบหน้า ตามี 2 ตา ทำหน้าที่ดูอย่างเดียว หูมี 2 หู ทำหน้าที่ฟังอย่างเดียว แต่ปากมีปากเดียว แต่ทำหน้าที่ 2 อย่าง คือ ทั้งกิน ทั้งพูด จึงต้องสับหลีก แบ่งเวลาใช้งาน แต่บางคนก็ใช้ไปพร้อมกันทั้ง 2 อย่าง คือ ทั้งกิน ทั้งพูดในเวลาเดียวกัน
วันครอบครัวไทย
คำว่า ครอบครัว เป็นหน่วยขนาดเล็กที่สุดของสังคมแต่สำคัญ เป็นผู้สร้างและกำหนดสถานภาพ สิทธิ หน้าที่ของบุคคลอันพึงปฏิบัติต่อกันในสังคม เป็น สถาบันแห่งแรกในการถ่ายทอดวัฒนธรรมและพัฒนา ผู้ร่วมครัวเรือน คือ ปู ย่า ตา ยาย สามี ภรรยา และบุตรหลาน การที่ได้กำหนดวันครอบครัวขึ้นมา
ดุสิตบุรี
ดูก่อนสารีบุตร ในการให้ทานนั้น บุคคลให้ทานโดยไม่มีหวังผล ไม่มีจิตผูกพันในผลแห่งทาน ไม่ได้ให้ทานด้วยความคิดว่า บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยายของเราเคยให้มาก่อน เราก็ไม่ควรทำให้ประเพณีอันดีนี้ขาดหายไป แต่ให้ทานด้วยคิดว่า เราหุงหากินได้ แต่สมณะพราหมณ์ไม่ได้หุงหา เราแสวงหาทรัพย์ได้ จะไม่ให้ทานแก่สมณะพราหมณ์ผู้ไม่แสวงหาทรัพย์เลี้ยงชีพ ย่อมไม่สมควร บุคคลนั้นให้ทานด้วยอาการอย่างนี้ เมื่อทำกาลกิริยา ละจากโลกนี้ไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหาย แห่งเทวดาในสวรรค์ชั้นดุสิต