พระดังจากพม่า ประณาม รัฐบาลไทยทำลายศาสนา
พระวีรธุ ภิกษุชื่อดังชาวพม่า เดินขบวนสนับสนุนวัดพระธรรมกาย และประณามรัฐบาลไทยว่าทำลายศาสนา พร้อมทั้งเรียกร้องให้เจ้าหน้าที่ออกจากวัดพระธรรมกายทันที
วิสาขบูชา ณ บรมพุทโธ ประเทศอินโดนีเซีย
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวอินโด ตอนที่ 2
การละเล่น การละเล่นที่มีมาแต่เก่าก่อนของชาวอินโดนีเซียมีหลายอย่าง ที่น่าสนใจคือ วายังกูลิต (Wayang Kulit) หรือที่นิยมเรียกกันว่า วายังเป็นการแสดงหุ่นเชิดฉายเงาบนจอคล้ายหนังตระลุง มีเครื่องดนตรีประกอบ 4 ชิ้น เค้าโครงเรื่องส่วนใหญ่มักเกี่ยวกับสงครามในศาสนาฮินดูที่เล่าสืบต่อกันมาของชาวชวาและชาวบาหลี ใช้หุ่นกว่า 60 ตัว ผู้พากย์จะต้องมีความชำนาญในการใช้ภาษากาวี ซึ่งเป็นภาษาโบราณที่ตัวละครฝ่ายดีพูด และภาษาบาหลีสำหรับตัวละครฝ่ายร้ายพูด
เป็น อยู่ คือ... วิถีชาวบรูไน ตอนที่ 2
การแสดง การแสดงของบรูไนมีมากมาย ทั้งในส่วนที่เป็นของชาวมลายู ซึ่ง คล้ายคลึงกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างมาเลเซีย อินโดนีเซีย และการที่เป็นของชนพื้นเมือง
ทำมาค้าขาย ประเทศบรูไน
ทำมาค้าขาย ชาวบรูไนนิยมทำงานราชการหรือทำงานในบริษัทใหญ่ๆ และเนื่องจากการเป็นประเทศเล็กๆ ที่มีจำนวนคนอาศัยอยู่น้อย บรูไนจึงมีปัญหาขาดแคลนแรงงานและช่างฝีมือ จึงรับจ้างแรงงานจากต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย หรือคนไทย เข้าไปทำงานในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น ตัดเย็บเสื้อผ้า ก่อสร้าง
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวสิงคโปร์ ตอนที่ 2
การแสดงดนตรี ผู้คนแต่ละเชื้อชาติที่อาศัยอยู่บนแผ่นดินสิงคโปร์มีเครื่องดนตรีประจำชาติเป็นของตน อาทิ วีนา (Veena) ของชาวอินเดีย กู่เจิงของชาวจีน แต่ดนตรีได้รับความนิยมอย่างสูงในประเทศสิงคโปร์และได้รับจากนานาประเทศ คือ การบรรเลงเพลงของวงออร์เคสตราจีนแห่งสิงคโปร์ (Singapore Chinese Orchestra.) ซึ่งเป็นวงที่รวมเครื่องดนตรีสากลไว้ด้วยกันนับ 30 ชนิด เช่น ขลุ่ยผิว พิณจีนโบราณชนิดต่างๆ ขิมจีน เป็นต้น
เทศกาล อาหาร และการแต่งกาย ของประเทศมาเลเซีย
ฮารีรายออิดิลฟิตรี้ จัดขึ้นหลังเดือนเราะมะฎอน (เดือนแห่งการถือศีลลอดมุสลิมทั่วโลก) โดยเริ่มตั้งแต่สิบวันสุดท้ายของเดือนเราะมะฎอน ในตอนเช้ามุสลิมในประเทศมาเลเซียจะเดินทางไปละหมาดร่วมกันที่มัสยิด จากนั้นจะเดินทางไปเยี่ยมกุโบร์หรือสุลานของบรรพบุรุษ
พุทธเคลื่อนไหวประณามบึ้มพุทธคยา ไม่หวั่นปฏิบัติธรรมแดนพุทธภูมิปกติ
เรื่องพุทธคยาถูกบอมพ์ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ในการเรียกร้องสันติ และรักษาพุทธสถานทั่วโลกอย่างเคร่งครัด นัดหมายรวมตัวครั้งใหญ่ (อย่างสุภาพ ราว 500 รูป/คน พุธที่ 10 กค. นี้ 9.00 น. ที่ตึก UN ราชดำเนิน, 13.00 น. ที่ สถานทูตอินเดียสุขุมวิท 25
เครือข่ายชาวพุทธ วอนยุติความรุนแรงในเมืองจิตตะกอง
ประธานองค์การยุวพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ตัวแทนคณะสงฆ์บังคลาเทศ กว่า 300 รูป ร่วมตัวยื่นหนังสือต่อตัวแทนสถานทูตบังคลาเทศ
การฟื้นฟูสู่ความยั่งยืน จากรายการทันโลกทันธรรม
การฟื้นฟุสู่ความยั่งยืน มหาอุทกภัยปี 2554 นี้ นับว่าร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติไทย เพราะว่ามีน้ำท่วมใหญ่ตามลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทำให้มีจังหวัดที่ถูกน้ำท่วมเกือบ 30 จังหวัด พื้นที่การเกษตรเสียหายไปถึง 11 ล้านไร่ และมีผู้ได้รับความเดือดร้อนถึง 3 ล้านคน