ถึงจะท่องจําตําราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม
ถึงจะท่องจําตําราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม ละราคะ โทสะ และโมหะได้ รู้แจ้งเห็นจริง มีจิตหลุดพ้น ไม่ยึดมั่น ถือมั่น ทั้งปัจจุบันและอนาคต เขายอมได้รับผลที่พึงได้จากการบวช
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - กุศโลบายให้พ้นโลก
โธตกมาณพทูลว่า "ถ้าพระองค์จะทรงพระกรุณา ก็ควรแสดงธรรมอันทำให้กิเลสของข้าพระพุทธเจ้าดับไป และแสดงธรรมที่ควรจะรู้ ขอได้โปรดสั่งสอนข้าพระองค์ให้เป็นคนโปร่งเบาใจ ไม่ขัดข้องดุจสภาวะที่กิเลสดับไปแล้ว ไม่อาศัยสิ่งใดสิ่งหนึ่งเที่ยวอยู่ในโลกนี้เถิด พระพุทธเจ้าข้า"
ถึงจะท่องจำตำราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม
ถึงจะท่องจำตำราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม ละราคะ โทสะ และโมหะได้ รู้แจ้งเห็นจริง มีจิตหลุดพ้น
ประพฤติชอบธรรม
ถึงจะท่องจำตำราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม ละราคะ โทสะ และโมหะได้ รู้แจ้งเห็นจริง มีจิตหลุดพ้น ไม่ยึดมั่น ถือมั่น ทั้งปัจจุบันและอนาคต เขาย่อมได้รับผลที่พึงได้จากการบวช
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - ผู้ก่อบาปกรรม ย่อมแพ้สงครามแห่งชีวิต
นายจุนทะ ผู้เลี้ยงชีพด้วยการขายเนื้อสุกร เขามีชีวิตอยู่กับการฆ่าสุกรมาตลอด ๕๕ ปี ทุกวันหลังจากที่ฆ่าสุกรแล้ว เขาจะแบ่งเนื้อไว้กินกันเองในครอบครัว และนำเนื้อส่วนที่เหลือไปขายเลี้ยงชีพ ตลอดชีวิตที่ผ่านมา เขาไม่เคยประกอบกุศลกรรมใดๆ ไม่ว่าจะเป็นการทำทาน รักษาศีล หรือเจริญภาวนา แม้พระบรมศาสดาจะประทับอยู่ในวัดเวฬุวัน ซึ่งอยู่ใกล้ๆ บ้าน เขาก็ไม่เคยไปวัด ไม่เคยถวายอาหารแม้เพียงข้าวทัพพีเดียว มีแต่ทำบาปกรรมมาตลอด
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สารธรรมของชีวิต
มนุษย์ทุกคนที่เกิดมา ต่างแสวงหาทางหลุดพ้นจากความทุกข์ ซึ่งเป็นสาระที่แท้จริงสำหรับชีวิต แต่เนื่องจากปัญญาและวิจารณญาณที่แตกต่างกัน ทำให้มีการแสวงหากันไปต่างๆ นานา พบทั้งสิ่งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง ยิ่งถ้าขาดกัลยาณมิตร ก็เหมือนกับคนเดินทางในที่มืด
พุทธปาฏิหาริย์ ๓,๕๐๐ อย่าง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายมีประมาณเท่าใด ไม่มีเท้าก็ดี ๒ เท้าก็ดี ๔ เท้าก็ดี มีเท้ามากก็ดี มีรูปก็ดี ไม่มีรูปก็ดี มีสัญญาก็ดี ไม่มีสัญญาก็ดี มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บัณฑิตกล่าวว่าเป็นยอดของสัตว์เหล่านั้น
พิจารณาปล่อยวางในขันธ์ ๕
ภาชนะดินที่นายช่างทำแล้วทุกชนิด มีความแตกเป็นที่สุด แม้ฉันใด ชีวิตของสัตว์ทั้งหลายที่เกิดมาแล้ว ล้วนมีความแตกสลายเป็นที่สุดฉันนั้น
อาทิตตปริยายสูตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์เป็นสุขเป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน
จิต
คำว่า " จิต " ตามหลักคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หมายถึง สภาพรู้ อาการรู้ลักษณะรู้แจ้งอารมณ์ เป็นใหญ่เป็นประธานในการรู้แจ้งอารมณ์ และคำว่า จิตนี้ยังมีชื่อที่ใช้แทนคำว่าจิตในบางแห่งอีกมาก เช่น ใจ มโน มานัส ปัณฑระ หทัย วิญญาณวิญญาณขันธ์ มนายตนะ เป็นต้น ในชีวิตประจำวันของเรา จะทราบได้ว่าผู้ที่ยังไม่ตายมีชีวิตอยู่ เป็นผู้มีจิตเกิดดับต่อเนื่องไปจนกว่าจะตาย ฉะนั้น จิตคือ สภาพรู้ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ