ลักษณะมหาบุรุษ (1)
ความมีวรรณะงาม ความมีเสียงเพราะ ความมีทรวดทรงดี ความมีรูปสวย ความเป็นใหญ่ ความมีบริวาร อิฐผลทั้งหมดนั้น บุคคลย่อมได้ด้วยบุญนิธินี้
ผู้เป็นใหญ่ในทรัพย์
“มีน้ำต้องใช้น้ำให้เป็น ใช้ไม่เป็นก็เป็นขี้ข้าน้ำ มีไฟต้องใช้ไฟให้เป็น ใช้ไม่เป็นก็เป็นขี้ข้าไฟ
ลักษณะมหาบุรุษ 32 ประการ
ลักษณะมหาบุรุษของพระพุทธเจ้ามี ๓๒ ประการ คือ พระพุทธเจ้ามีพระบาททั้งสองประดิษฐานเรียบสนิท พื้นใต้ฝ่าพระบาทของพระองค์มีลายคล้ายจักร เพราะพระองค์เป็นผู้นำธรรมจักรให้หมุนไป ยังสรรพสัตว์ให้ได้บรรลุมรรคผลนิพพานนับไม่ถ้วน พระพุทธองค์มีส้นพระบาทยาวสมส่วนกลมงาม มีพระองคุลี คือนิ้วมือเรียวงามเหมือนลำเทียน แต่ละนิ้วยาวเท่าๆ กันสมบูรณ์ด้วยพละกำลัง มีฝ่าพระหัตถ์และฝ่าพระบาทอ่อนนุ่ม ทั้งฝ่าพระหัตถ์และฝ่าพระบาทมีลายเหมือนตาข่ายสวยงามมาก
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - จนข้ามภพ รวยข้ามชาติ ( ๕ )
สามเณรเดินต่อไป เห็นช่างศร กำลังเอาลูกศรลนไฟ เล็งดูด้วยหางตา แล้วดัดให้ตรง จึงเรียนถามพระเถระด้วยความอยากรู้ ตามประสาเด็กอายุ ๗ ขวบ ที่มีบารมีแก่กล้า เมื่อได้คำตอบแล้ว ก็ตรึกธรรมะไปว่า ถ้าสามารถดัดลูกศรที่ไม่มีจิต ให้ตรงได้ ทำไมหนอ คนซึ่งมีจิตแท้ๆ จึงไม่สามารถบังคับจิตของตนเองได้"
มหาสมบัติจักรพรรดิ (๑)
ความเป็นพระราชาประเทศราช ความเป็นใหญ่ สุขของพระเจ้าจักรพรรดิที่น่าปรารถนา แม้ความเป็นราชาแห่งเทวดาในทิพยวิมาน อิฐผลทั้งหมดนั้นอันเทวดาและมนุษย์ ย่อมได้ด้วยขุมทรัพย์คือบุญนี้
อานิสงส์ถวายนมสด
บุญนิธินั้น ให้สมบัติน่าใคร่ทุกอย่างแก่ทวยเทพและมนุษย์ ปรารถนาผลใดๆ ผลนั้นๆ ทั้งปวง ย่อมได้ด้วยบุญนิธินั้น ความเป็นผู้มีวรรณะงาม ความเป็นผู้มีเสียงไพเราะ ความมีทรวดทรงสมส่วน ความเป็นผู้มีรูปสวย ความเป็นใหญ่ ความมีบริวาร ผลทั้งปวงย่อมได้ด้วยบุญนิธินั้น
ลักษณะมหาบุรุษ (๑)
ออกแบบชีวิตด้วยทาน
การให้ทานเป็นการเอาชนะความตระหนี่ เมื่อเราให้ทานอยู่เป็นนิตย์ กระแสบุญจากการให้จะเข้ามาแทนที่ ทำให้ความตระหนี่หลุดร่อนออกจากใจ บุญจะไปดึงดูดสมบัติต่างๆให้ไหลเข้ามาหาเราอย่างอัศจรรย์ การให้ทานจึงเป็นวิธีการออกแบบชีวิตของเราให้พร้อมด้วยสมบัติทั้ง 3 คือ มนุษย์สมบัติ ทิพย์สมบัติ และนิพพานสมบัติ
บุญ คือ อะไร ?
บุญเป็นเครื่องชำระจิตให้ผ่องใส (เมื่อจิตผ่องใสย่อมไปสู่โลกสวรรค์) บุญเป็นคุณเครื่องแห่งความสำเร็จทั้งปวง (ความสุขทั้งมวลล้วนมาจากบุญ)
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 87
ครั้นมโหสถบัณฑิตได้พิสูจน์ให้พระเจ้าวิเทหราช ทรงทราบถึงเจตนาที่บริสุทธิ์ของตน กระทั่งเปลื้องมลทินจนหมดสิ้นแล้ว จึงคิดในใจว่า “บัดนี้เป็นโอกาสที่เราจะได้กล่าวทักท้วงพระองค์ในข้อที่ทรงทำเกินกว่าเหตุ เป็นข้อบกพร่องที่พระองค์ควรจะทรงรับรู้ไว้บ้าง”