วินีลกชาดก ชาดกว่าด้วยการเลือกทำเลผิด
ครหิตชาดก ชาดกว่าด้วยลิงติเตียนมนุษย์
วานรทั้งฝูงเมื่อได้รู้ถึงพฤติกรรมของมนุษย์เช่นนั้นก็พากันติเตียน บ้างก็ชำระล้างหูของตน แล้วร่วมใจกันย้ายถิ่นฐานให้ไกลจากมนุษย์ เข้าไปในป่าลึกสุดๆ ของหิมพานต์
กกัณฏกชาดก ชาดกว่าด้วยกิ้งก่าได้ทรัพย์
พระราชาได้เสด็จไปยังพระราชอุทยาน ก็ทรงมองหาเจ้ากิ้งก่าตัวนั้น “ มโหสถ เจ้ากิ้งก่าตัวนั้นมันหายไปไหนสะแล้วล่ะ ” “ มันอยู่บนเสานั้นแหละพระเจ้าค่ะ ” เจ้ากิ้งก่านั้น แม้เห็นว่าพระราชาทรงเสด็จมา ก็ไม่ได้ลงจากปลายเสาค่าย เพื่อทำความเคารพพระราชาเช่นเดิม ด้วยเพราะมันเข้าใจว่าตนเองมีทรัพย์เสมอพระราชา มันจึงทำตนเสมอพระราชาด้วย
สาลิยชาดก ชาดกว่าด้วยหมอผู้โชคร้าย
หมอพิการคนหนึ่ง ได้วางแผนให้เด็กน้อยลูกพ่อค้าปีนต้นไม้ไปเอาลูกนกสาลิกาในโพรงไม้ ซึ่งความจริงแล้วมีงูอยู่ในโพรงไม้นั้น เด็กน้อยหลงเชื่อปีนขึ้นไป เด็กน้อยจับหัวงูได้ก็เหวี่ยงทิ้งทันที ด้วยบุพกรรมที่ทำร่วมกันมาแต่ชาติปางก่อน เด็กน้อยลูกพ่อค้าเหวี่ยงงูเห่ามาทางหมอพิการพอดี งูพิษพันคอหมอพิการ แล้วฝังคมเขี้ยวฉีดพิษร้าย หมอพิการดิ้นทุรนทุรายอย่างทรมาน มิสามารถเยี่ยวยาได้ทัน
สัพพาทาฐิชาดก ชาดกว่าด้วยผู้มีบริวารมากเป็นใหญ่ได้
ปุโรหิตผู้หนึ่งของพระเจ้าพรหมทัตได้ฝึกซ้อมสาธยายมนต์ที่ชื่อว่า ปฐวีวิชัยมนต์ ปรากฎว่ามีสุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งแอบได้ยินและสามารถจดจำมนต์นั้นได้ และคิดการใหญ่โดยได้ยกกองทัพสัตว์เดรัจฉานหมายทำการรบกับพระเจ้าพาราณสีหวังจะแย่งชิงราชบัลลังค์
ฉัททันตชาดก ชาดกว่าด้วยพญาช้างฉัททันต์
“ พรานเอ๋ย นางผู้นั้น ละวางพยาบาทได้ก็ด้วยชีวิตเรา จงเลื่อยเอางาของเราไปเถิด ” การสิ้นกรรมในชาติภพนั้น พญาฉัททันต์ทนเจ็บปวดเป็นที่เวทนาการ จนเมื่อพรานนำงาคู่ไปถึงกาสิกกรัฐ แล้วพญาช้างก็ขาดใจตาย
เกฬิสีลชาดก ชาดกว่าด้วยปัญญาสำคัญกว่าร่างกาย
พระเจ้าพรหมทัตทรงครองราชสมบัติอยู่ ณ กรุงพาราณสี พระองค์ทรงชอบการกลั่นแกล้งทรมานคนแก่ชราและสัตว์ที่แก่ไร้เรี่ยวแรง นำมากลั่นแกล้งในรูปแบบต่าง ๆ จนท้าวสักกะทนไม่ไหวจำต้องเสด็จลงมาใช้อุบายทำการสั่งสอนให้พระองค์ได้ทรงสำนึกในการกระทำที่ไม่สมควร
ฆตาสนชาดก ชาดกว่าด้วยภัยที่เกิดจากที่พึ่ง
มีนกจำนวนมากอาศัยอยู่บนต้นไม้ใหญ่ริมสระน้ำแห่งหนึ่ง ซึ่งในสระมีพญานาคที่ดุร้ายมากตัวหนึ่ง ฝูงนกจำนวนมากได้ขับถ่ายลงไปในสระน้ำ ด้วยเหตุนี้จึงเป็นที่มาของความหายนะที่ได้เกิดขึ้นกับฝูงนกเหล่านั้น
โกสิยชาดก ชาดกว่าด้วยถ้อยคำกับการกินไม่สมกัน
นางโกสิยพราหมณี ซึ่งเป็นหญิงที่มีนิสัยหยาบช้า ลามก มักมากในกาม นางนั้นหลุ่มหลงอยู่ในกามราคะ ประพฤติผิดประเวณี คบชู้สู่ชายและมักใช้เล่ห์กลมารยาแกล้งป่วย ไม่ทำการงาน ให้พราหมณ์หนุ่มผู้เป็นสามีบำรุงบำเรอด้วยอาหารที่ดีและปราณีตอยู่เป็นประจำ
มณิโจรชาดก ชาดกว่าด้วยพระเจ้าอธรรมิกราช
พ้นพรรษาฤดูหนึ่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จประทับอยู่ ณ พระเวฬุวันมหาวิหาร อันพระเจ้าพิมพิสารถวายให้ พระองค์ทรงปรารภ พระเทวทัตผู้พยายามปลงพระชนม์แก่ภิกษุสงฆ์ “ดูก่อนภิกษุทั้งหลายเทวทัตพยามยามฆ่าเรา ใช่ว่าแต่ครั้งนี้ก็หาไม่ แม้ครั้งก่อนก็พยามยามฆ่าเรามาแล้ว”