พิษแห่งกาม
ข้าแต่จอมนรชน ผู้เช่นกับพระองค์ทรงทอดอาลัยในตน ไม่คบหาของรักทั้งหลายว่า สิ่งนี้เป็นที่รักของเรา ตนเท่านั้นประเสริฐกว่า เป็นสิ่งที่ประเสริฐอย่างยิ่งทีเดียว ผู้มีตนที่สั่งสมบุญไว้ดีแล้ว จะพึงได้สมปรารถนาในสิ่งที่รักในภายหลัง
จุลปทุมชาดก ว่าด้วยการลงโทษหญิงชายทำชู้กัน
พระจุลปทุมกุมารได้ทรงช่วยเหลือโจรที่โดนตัดแขนตัดขาที่ถูกปล่อยลงแพล่องตามแม่น้ำ พระองค์ทรงเยียวยาให้อาหารดูแล จนหายบาดเจ็บในเวลาต่อมา การสร้างบุญของเจ้าชายครั้งนั้นเหมือนการเก็บงูเห่ามาเลี้ยง เมื่อเจ้าชายออกไปหาผลไม้ในป่า พระชายาสาวก็กระทำอนาจารร่วมกับโจรนั้นทุกครั้ง ความชั่วมักหอมหวานจนกลายเป็นสิ่งถูกต้องเสมอในความคิดของคนชั่ว
จุลลโพธิชาดก ชาดกว่าด้วยความโกรธ
ดูก่อนภิกษุ ขึ้นชื่อว่าความโกรธ เธอควรจะห้ามเสีย อันความโกรธเห็นปานนี้ ที่จะทำประโยชน์ให้ในโลกนี้และโลกหน้าเป็นไม่มี เธอบวชในศาสนาของพระพุทธเจ้าที่ไม่โกรธแล้ว เหตุไรจึงยังโกรธเล่า
อุทยชาดก ชาดกว่าด้วยบารมี 10 ทัศ
พระเจ้ากาสีทรงอภิเษกพระราชโอรสอุทัยภัทรและพระราชธิดาอุทัยภัทราซึ่งเป็นบุตรของตนทั้งสองพระองค์ พระราชโอรสและพระราชธิดาประทับอยู่ด้วยกันแต่ก็มิได้ทรงทำร้ายอินทรีย์ทอดพระเนตรกันด้วยความโลภ...ต่างก็ประพฤติพรหมจรรย์
เหตุการณ์สำคัญในวันตั้งมโนปณิธานว่าจะบวชตลอดชีวิต
ย้อนไป ๑๑๒ ปี มีเด็กหนุ่มวัย ๑๙ ปี ซึ่งต่อมา คือ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กำลังทำหน้าที่เป็นพ่อค้าข้าวแทนบิดาที่เสียไปตั้งแต่อายุ ๑๔ ปี และได้เป็นหัวแรงสำคัญของครอบครัว ได้ตั้งจิตอธิษฐานขอบวชตลอดชีวิตทำให้เป็นจุดหักเหให้ท่านเลือกเส้นทางเดินชีวิตที่ต่างจากคนทั่วไป
กามชาดก ชาดกว่าด้วยกามและโทษของกาม
ครั้งนั้นเมื่อองค์พระศาสดาทรงประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภกับพราหมณ์ชาวเมืองสาวัตถีผู้หนึ่ง เขาผู้นี้ได้ทำการหักร้างป่าเพื่อต้องการทำเป็นไร่ พระศาสดาทรงเห็นอุปนิสัยของเขา เมื่อเสด็จเข้าไปโปรดสัตว์ในพระนครสาวัตถี
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๒ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ถ้าพูดภาษาชาวบ้านก็เกี่ยวกับการรักษารูปของเรา คือ เรื่องการแต่งเนื้อแต่งตัวและกิริยามารยาทต่าง ๆ ซึ่งของพระภิกษุท่านว่าไว้อย่างนี้ ข้อ ๑-๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่ง-จักห่มให้เรียบร้อย”
วลาหกัสสชาดก ชาดกว่าด้วยความสวัสดี
"ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย หากเหล่าภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาผู้ใดไม่ทำตามคำสั่งสอน ที่เราตถาคต แสดงไว้ดีแล้ว ผู้นั้นย่อมจะต้องถึงความพินาศ ย่อมถึงความทุกข์ใหญ่ในอบาย ๔ (คือได้นรก ดิรัจฉาน เปรต อสุรกาย) เปรียบเสมือนพวกพ่อค้า ที่ถูกนางยักษิณี หลอกลวงให้ตกอยู่ในอำนาจ ต้องสิ้นชีวิตไป ฉะนั้น
ต้นแบบแห่งความดี
บุคคลพึงเห็นโทษในการปฏิบัติผิดทาง ควรศึกษาไตรสิกขา เพื่อละความดำริผิด ควรศึกษาวิเวก และประพฤติวิเวกอันเป็นกิจของพระอริยเจ้า บุคคลผู้ไม่มีความห่วงใยในกามทั้งหลาย ย่อมข้ามโอฆะที่ข้ามได้โดยยาก
อริยมรรค หนทางสู่ความหลุดพ้น
ท่านทั้งหลายจงดำเนินตามทางที่สร่างความมัวเมา บรรเทาความเศร้าโศก เปลื้องตนให้หลุดพ้นจากสงสาร ซึ่งเป็นที่สิ้นสุดแห่งทุกข์ทั้งปวง โดยความเคารพเถิด