บริหารเวลาด้วยกาลัญญู
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเล็งเห็นคุณค่าของเวลาชีวิต และทรงให้แนวทางแก่พระภิกษุในพระพุทธศาสนาในการบริหารเวลา ดังนี้....
สัปปุริสธรรม 7
ธรรมที่ทำให้คนเป็นสัตบุรุษ หรือ เป็นคนดี มีคุณธรรม เป็นคนเก่ง มี 7 ประการ ด้วยกัน คือ 1. ธัมมัญญุตา เป็นผู้รู้จักเหตุ 2. อัตถัญญุตา เป็นผู้รู้จักผล 3. อัตตัญญุตา เป็นผู้รู้จักตน 4. มัตตัญญุตา เป็นผู้รู้จักประมาณ 5. กาลัญญุตา เป็นผู้รู้จักกาล 6. ปริสัญญุตา เป็นผู้รู้จักชุมชน 7. ปุคคลัญญุตา หรือ ปุคคลปโรปรัญญุตา เป็นผู้รู้จักบุคคล
มงคลที่ ๑๔ ทำงานไม่คั่งค้าง - ขยันถูกเวลานำพาสู่ความสำเร็จ
วันเวลาที่ผ่านไป ได้นำเอาความชรามาสู่เรา ชีวิตมนุษย์มีเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และในที่สุดก็เสื่อมสลายไป สิ่งต่างๆ ในโลก ไม่ว่าจะเป็นบุตร ธิดา ทรัพย์สินเงินทอง ญาติพี่น้อง ล้วนไม่อาจติดตามเราไปสู่ปรโลกได้ มีแต่กุศลผลบุญที่เราสั่งสมไว้ดีแล้วเท่านั้น ที่จะเป็นดังเงาติดตามตัวเราไป ดังนั้นเราทั้งหลาย ต้องตระหนักและแสวงหาหลักของชีวิต ด้วยการสั่งสมบุญบารมีให้เต็มที่ เพราะโอกาสนี้เป็นโอกาสที่ดีที่สุดของพวกเราที่ได้เกิดเป็นมนุษย์
สัปปุริสธรรม 7 ธรรมของสัตบุรุษ
บทธรรมแต่ละหมวด ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์สอนไว้แล้วมีบันทึกในพระไตรปิฎก ล้วนคือ “ขุมทรัพย์ใหญ่ของมวลมนุษยชาติ” ความรู้ทางโลกที่หมุนเวียนเปลี่ยนไปเรื่อย แต่ความรู้ในพระไตรปิฎกเป็น
ตั่วเฮีย
เป็นคนดี กตัญญู ทำทาน รักษาศีล เจริญภาวนา แต่ทำไมกลับถูกลูกน้องคนสนิทฆ่าตาย
พุทธสุภาษิตสะกิดใจ "กตัญญูกตเวที เป็นคนดีของชาติ"
นิมิตฺตํ สาธุรูปานํ, กตญฺญูกตเวทิตา, ความกตัญญูกตเวที เป็นเครื่องหมายของคนดี ทุกคนที่เกิดมาในโลกนี้ ต่างก็ต้องการจะเป็นคนดีด้วยกันทั้งนั้น เมื่อเป็นเช่นนั้น ก็จะต้องหมั่นรำลึกนึกถึงพระคุณของท่านอยู่เสมอ และสิ่งสำคัญยิ่งไปกว่านั้น ก็จะต้องสร้างความดีให้เกิดขึ้นกับตน ให้สังคมมองเห็นว่า เราเป็นคนดี
มงคลที่ ๑๑ บำรุงบิดามารดา - ฝ่าเท้ามารดา หนทางพาสู่สวรรค์
ในสมัยที่พระองค์เสวยพระชาติเป็นช้างเผือก ที่มีความ กตัญญู มีบริวารถึง ๑๐๐,๐๐๐ เชือก สามารถปกครองช้างทั้งหมดให้อยู่กันอย่างมีความสุข มารดาของท่านตาบอด ไม่สะดวกในการหาอาหารด้วยตนเอง ในคืนวันหนึ่ง พญาช้างโพธิสัตว์จึงพามารดาไปอยู่ในถ้ำที่เชิงเขาตามลำพัง คอยหาน้ำ หาอาหารมาเลี้ยงดูแลท่านด้วยความกตัญญู
อาสาฬหบูชาพุทธมณฑล
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ได้แสดงธรรมเทศนา เรื่องชีวิตจะมีความสุขที่แท้จริงได้ต้องมีความกตัญญู มีสัจจะ และมีความอดทน เนื่องในวันอาสาฬหบูชา ที่พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - กตัญญู คุณค่าของความเป็นคน
พระราชาทรงดำริว่า ช้างพังนี้มีอุปการะแก่เรามาก จึงพระราชทานเครื่องคชาภรณ์ทุกอย่าง ได้บำรุงอย่างดีเหมือน กับที่พระเจ้าอุเทนทำกับภัททวดีช้างพังฉะนั้น แต่ต่อมาภายหลัง เมื่อช้างพังต้นโอฏฐิพยาธิชราภาพลง พระราชารับสั่งให้ริบทุกสิ่งทุกอย่าง เหมือนทำนองที่ว่า เสร็จนาฆ่าโคถึก เสร็จศึกฆ่าขุนพลนั่นเอง
บุตรที่ดี ย่อมมีความกตัญญูกตเวที
บุตรที่ดี ย่อมมีความกตัญญูกตเวที เป็นองค์ประกอบหนึ่ง กตัญญู หมายถึง เห็นคุณค่าท่าน คือเห็นด้วยใจ ด้วยปัญญา ว่าท่านเป็นผู้มีพระคุณต่อเราอย่างแท้จริง กตเวที หมายถึง การทดแทนพระคุณของท่าน คือ