มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - อสทิสทาน
การให้ทานจะนำเราไปสู่ชีวิตที่สมบูรณ์ เป็นบันไดไปสู่สวรรค์นิพพาน การทำบุญด้วยเจตนาบริสุทธิ์ หวังบุญบารมีเป็นที่ตั้งนั้น จะได้รับอานิสงส์อย่างที่เราคาดไม่ถึง ยิ่งทำถูกเนื้อนาบุญ ผลบุญนั้นก็จะเป็น มหัคคตกุศล ไม่อาจที่จะนับคำนวนบุญที่เกิดขึ้นได้ ว่ามีประมาณเท่าใด การที่เรามีโอกาสทำบุญกับพระภิกษุสามเณร ๑๐๐,๐๐๐ รูป ในเวลาเดียวกันนี้ เป็นความอัศจรรย์ของโลก
ความสุขทางโลกแค่ชั่วคราว แต่สุขที่ยาวนาน ต้องเข้าถึงพระธรรมกาย
คำคมสอนใจกับธรรมะใสๆ ที่ให้แง่คิดมุมมองดีๆ กับชีวิต สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
มงคลที่ ๑๓ สงเคราะห์ภรรยา(สามี) - คู่บุญคู่บารมี
สามีภรรยาจะต้องรู้จักความเป็น "ผู้ให้" ซึ่งกัน และกัน ตั้งแต่การให้ข้าวของเครื่องใช้ ให้คำพูดที่ไพเราะจริงใจ ให้ความช่วยเหลือเกื้อกูล รู้จักให้อภัย รวมถึงให้ความมั่นใจต่อกัน เพราะ "การให้" เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ จะทำให้เป็นคู่บุญ คู่บารมี เป็นครอบครัวแก้วที่มีแต่ความเจริญรุ่งเรืองยิ่งๆ ขึ้นไป
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 81 ทานบารมี และ ศีลบารมี
พระโพธิสัตว์ทุกท่าน เริ่มต้นการสร้างบารมีด้วยการบำเพ็ญทานบารมีเป็นอันดับแรก และจำเป็นจะต้องรักษาศีลให้สะอาดและบริสุทธิ์ด้วย
‘จิตอาสา’ ละครปลุกจิตสำนึกวัยรุ่น
ทาน-ทางมาแห่งทรัพย์สมบัติ ความหมายของทาน
ทาน หมายถึง การให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน เมื่อเราให้ทาน แม้จะไม่ได้หวังสิ่งใดตอบแทนก็ตาม แต่ก็จะมีบุญเกิดขึ้น และบุญนั้นจะช่วยออกแบบชีวิตของเราให้สมบูรณ์พร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ
บันทึกการเดินทางของทานตะวัน
งานวันแห่งความรักสากล ที่วัดพุทธโจฮันเนส-เบิร์ก ก็ผ่านไปอย่างสวยงามและประทับใจ ท่ามกลางผู้ที่รักสันติภาพที่เดินทางมาตักบาตร แด่พุทธบุตร 22 รูป ประมาณ 400 คน
ข้างบ้านทะเลาะกันเสียงดังทุกวันจะแก้ไขอย่างไรดี
กรณีของบ้านนี้จะต้องหาทางพูดคุยกันให้รู้เรื่อง แต่ว่าก่อนจะพูดจะคุยกับเขาให้รู้เรื่องนั้น เราจะต้องทำตัวของเราเองให้เป็นทั้งที่รัก และที่เกรงใจให้ได้เสียก่อน มิฉะนั้นก็ยากที่จะไปพูดอะไรได้
ทำไมคนทำดีถึงมีคนเกลียด
ทำไมคนทำดีถึงมีคนเกลียด.. ปกติคนทั่วไป เมื่อเราทำดีเขาจะชอบ จะพอใจ และจะรักเรา แต่พอทำดีแล้วเขาเกลียด เราก็รับไม่ได้เหมือนกัน บางคนเลยรำพึงรำพันว่า เฮ้อ! ทำดีไม่ได้ดี หรือทำคุณบูชาโทษบ้าง ทำบุญคุณกับใครไม่ขึ้นบ้าง คิดไปสารพัด
ทำอย่างไรจึงจะฝึกตนให้เป็นคนมีเหตุผล
คนมีเหตุผล คือผู้ที่สามารถตัดสินใจด้วยตนเองได้ เนื่องจากมีความเห็นถูกตามมาตรฐาน ของผู้รู้จริง คือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณด้วยพระองค์เอง ความเห็นถูก ภาษาพระเรียกว่า สัมมาทิฐิ หมายถึง ความเห็นถูกหรือความเข้าใจถูกในเรื่อง ของกรรม