เมื่อชวนคนทำบุญตามกำลังศรัทธาพอเขาทำน้อยก็ใจหมองควรทำอย่างไรดี
ชวนคนอื่นเป็นกรรมการทอดผ้าป่า ทอดกฐิน แล้วบอกว่าแล้วแต่ศรัทธา ถึงเวลาเขาให้ด้วยศรัทธา ๑๐ บาท โดยที่เขาก็เป็นกรรมการ ทำให้ลูกคิดแค้นมาก
สสส. และ สธ. รณรงค์ ออกพรรษา กฐิน ผ้าป่า ปลอดเหล้า
เครือข่าย สสส. และ กระทรวงสาธารณสุข รณรงค์ “ออกพรรษา กฐิน ผ้าป่า ปลอดเหล้า” เพื่อปรับเปลี่ยนค่านิยมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในงานบุญประเพณี
กฐิน ผ้าป่า และอานิสงส์
กฐินและผ้าป่ามีความเหมือนหรือต่างกันอย่างไร? กฐินและผ้าป่ามีพิธีกรรมและสิ่งของที่ถวายเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไรในแต่ละยุคสมัย? การทอดกฐินมีประวัติความเป็นมาอย่างไร?
พิธีทอดผ้าป่าธรรมชัยเพื่องานพระพุทธศาสนาทั่วไทย
พิธีทอดผ้าป่าธรรมชัยเพื่องานพระพุทธศาสนาทั่วไทย วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ.2559 ณ วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย
ขอถวายความอาลัยพระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)
ขอถวายความอาลัยพระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร) พระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณพระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร) อายุ 95 พรรษา 73 เจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตร และ ที่ปรึกษาเจ้าคณะเขตดุสิต มรณภาพ อย่างสงบที่โรงพยาบาลจุฬา เวลา 21.00 น. โดยประมาณ
กว่าจะเป็นธุดงค์ธรรมชัย ตอน รวมพลซุปเปอร์วี-ฝ่ายสนับสนุน
ถ้าขาด V นี้ไปเราก็คงหิวโซไส้กิ่วท้องร้องจ๊อกๆ ซึ่งVที่ว่านั้นจะเป็นใครอื่นไปไม่ได้นอกจาก วี-ฟู้ด (V-Food)ค่ะ วี-ฟู้ดจะมีหน้าที่ต้ม ผัด แกง ทอด หุงข้าว แพ็คข้าวจัดส่งให้สาธุชน
ธรรมกาย ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทยุคต้น
“ธรรมกาย” เป็นคำที่คุ้นเคยกันดีในหมู่ชาวพุทธ แต่ความหมายของธรรมกายในใจของชาวพุทธแต่ละกลุ่มอาจไม่เหมือนกัน เมื่อความเข้าใจเรื่องธรรมกายในหมู่ชาวพุทธแตกต่างกันอย่างนี้ จึงน่าศึกษาว่า คำว่า “ธรรมกาย” ในคำสอนเก่าแก่ที่เก็บรักษาไว้โดยชาวพุทธในแต่ละท้องถิ่นนั้นเป็นอย่างไร....
พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)
ชาติภูมิ พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร) มีนามเดิมว่า ทอง นาคประเสริฐ เป็นชาวจังหวัดฉะเชิงเทราโดยกำเนิด เกิด ณ ตำบลบางพระ อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อวันศุกร์ขึ้น 12 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะแม ตรงกับวันที่ 2 มกราคม พ.ศ.2462
Case Study
เรื่องราวแสดงผลของความแตกต่างในการทำบุญในพระพุทธศาสนากับการทำบุญแบบสงเคราะห์โลก...ชายคนหนึ่ง ชอบทำบุญแบบสงเคราะห์โลกแต่ไม่ชอบไหว้พระ เขามีความคิดว่า ทุกศาสนาก็สอนให้คนทำความดี ละเว้นความชั่ว ถ้าคนเรามีคุณธรรมประจำใจ มุ่งแต่ทำความดี ถึงแม้จะไม่นับถือศาสนาใดเลยก็ได้...ชายอีกคนหนึ่ง เป็นคนใจบุญ ชอบทำบุญทอดกฐิน ผ้าป่า สร้างพระประธานในวัดหลายแห่ง...ชีวิตหลังความตายของชายทั้งสอง เป็นอย่างไร...